Page 41 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 41

26





                  2.5    สภาพเศรษฐกิจและสังคม


                        2.5.1   ประชากร ในปี พ.ศ. 2553 จังหวัดสุรินทร์ มีประชากรรวมทั<งสิ<น จํานวน 1,381,761 คน  เป็น
                  ชาย    691,425    คน  จํานวน  690,336    คน  จํานวนบ้าน 341,922 หลังคาเรือน (กรมการปกครอง, 2554)

                  สําหรับอําเภอที มีประชากรมากที สุด ได้แก่ อําเภอเมืองสุรินทร์ มีจํานวน 258,806 คน รองลงมา ได้แก่

                  อําเภอปราสาท มีจํานวน 155,068  คน  และอําเภอศีขรภูมิ 135,708 คน  สําหรับอําเภอที มีความหนาแน่น
                  ของประชากรมากที สุด คือ อําเภอรัตนบุรี 464 คนต่อตารางกิโลเมตร รองลงมา ได้แก่ อําเภอเมืองสุรินทร์

                  286 คนต่อตารางกิโลเมตร อําเภอศีขรภูมิ  242  คนต่อตารางกิโลเมตร และอําเภอที มีความหนาแน่นของ

                  ประชากรน้อยที สุด ได้แก่ อําเภอบัวเชด 82 คนต่อตารางกิโลเมตร  ดังรายละเอียดในตารางที  2

                        2.5.2  โครงสร้างเศรษฐกิจ และขนาดเศรษฐกิจของจังหวัด สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
                  เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2553ก)  ได้สรุปว่าโครงสร้างการผลิตตามมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม

                  จังหวัด (Gross  Provincial  Products:GPP) จังหวัดสุรินทร์ รวมจํานวน 16 สาขา ในปี 2552   มีมูลค่า

                  52,293 ล้านบาท  มูลค่าผลิตภัณฑ์เฉลี ยต่อหัวต่อปี  (Per  Capita  GPP)  36,356 บาท  เพิ มขึ<นจาก
                  ปี พ.ศ.  2551  ร้อยละ 9.28 ในขณะที มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมระดับประเทศเฉลี ยต่อหัวต่อปี  135,281

                  บาท ถือว่าจังหวัดมีรายได้ตํ ามาก จัดเป็นลําดับที  15 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จาก 19 จังหวัด)

                  และเป็นลําดับที   72  ของประเทศ  (จาก 76  จังหวัดรวมกรุงเทพมหานคร) (สํานักงานคณะกรรมการ

                  พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,  2553ข) โดยพบว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมส่วนใหญ่ได้มาจาก
                  นอกภาคการเกษตร ร้อยละ 77.19 และภาคการเกษตร มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมมากเป็นอันดับ 2

                  หรือร้อยละ 22.81 (สํานักงานจังหวัดสุรินทร์, 2554) ซึ งมีรายละเอียดดังนี<

                             1)   นอกภาคการเกษตร จากรายงานของสํานักงานจังหวัดสุรินทร์ (2554) พบว่า
                                   (1)   สาขาเหมืองแร่และย่อยหิน  ผลผลิตแร่ที สําคัญของจังหวัด ได้แก่ แร่หิน

                  บะซอลต์  ซึ งมีผู้ประกอบการทําเหมืองหินบะซอลต์ เพื ออุตสาหกรรมก่อสร้าง จํานวน 13  ราย

                  ในปี พ.ศ. 2552 มีผลผลิตจํานวน 4,470,537.61 ตัน เพิ มขึ<นจากปี พ.ศ. 2551 ร้อยละ 39.85
                                   (2)   สาขาอุตสาหกรรม  ในปี  พ.ศ. 2552  ภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดโดยรวม

                  ขยายตัวเพิ มขึ<น พิจารณาจากจํานวนทุนจดทะเบียนโรงงานที เปิดดําเนินการใหม่ ปริมาณการใช้ไฟฟ้ า

                  ภาคอุตสาหกรรม ทุนจดทะเบียนของอุตสาหกรรม และจํานวนแรงงานอุตสาหกรรมเพิ มขึ<นจาก
                  ปี พ.ศ. 2551 ร้อยละ 76.92 13.69 7.42 และ 1.57 ตามลําดับ โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมตั<งใหม่ จํานวน

                  25 โรง รวมเงินทุนจดทะเบียนทั<งสิ<น 741 ล้านบาท
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46