Page 48 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 48

33






                             2)   พื1นที เกษตรกรรม (A)  เนื<อที   3,921,278 ไร่ หรือร้อยละ 77.22  ของเนื<อที จังหวัด
                  ประกอบด้วย (ภาพที  10)

                                   (1)  นาข้าว  (A1)  มีเนื<อที รวม 3,402,202  ไร่ หรือร้อยละ 67.01  ของเนื<อที จังหวัด

                  ซึ งเป็นประเภทการใช้ที ดินที มีเนื<อที มากที สุดของจังหวัด กระจายตัวอยู่ทุกอําเภอทั<งจังหวัด (ภาพที  20-21)
                  ประกอบไปด้วย

                                         -    นาข้าว (A101)  เนื<อที  3,374,725 ไร่ หรือร้อยละ 66.46  ของเนื<อที

                  จังหวัด ส่วนใหญ่ปลูกข้าวเจ้าพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และ กข15
                                         -    นาร้าง (A100) เนื<อที  2,291 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของเนื<อที จังหวัด

                                         -    พื<นที ลุ่มและทํานา ในฤดูแล้ง (M2+A101)  เนื<อที  25,186  ไร่  หรือ

                  ร้อยละ 0.50 ของเนื<อที จังหวัด ซึ งเป็นแหล่งปลูกข้าวนาปรังของจังหวัด กระจายตัวอยู่บริเวณริมแม่นํ<ามูล

                  พบมากบริเวณอําเภอรัตนบุรี
                                   (2)  พืชไร่ (A2)  มีเนื<อที รวม 223,425  ไร่ หรือร้อยละ 4.40  ของเนื<อที จังหวัด

                  (ภาพที  22)

                                         -    อ้อย (A203)  มีเนื<อที รวม 119,236  ไร่ หรือร้อยละ 2.35  ของเนื<อที
                  จังหวัด พบมากบริเวณตอนล่างของจังหวัด เนื องจากเป็นพื<นที ดอน บริเวณอําเภอพนมดงรัก อําเภอ

                  กาบเชิง อําเภอสังขะ อําเภอบัวเชด  อําเภอศรีณรงค์ และอําเภอปราสาท ซึ งเป็นพื<นที อยู่ใกล้กับโรงงาน

                  นํ<าตาลสุรินทร์ นอกจากนี<ยังพบบางส่วนในบริเวณตอนบนของจังหวัด ในอําเภอจอมพระ อําเภอสนม
                  อําเภอโนนนารายณ์ อําเภอท่าตูม และอําเภอสําโรงทาบ

                                         -    มันสําปะหลัง (A204) มีเนื<อที รวม 97,823 ไร่ หรือร้อยละ 1.93 ของ

                  เนื<อที จังหวัด พบในบริเวณเดียวกับพื<นที ปลูกอ้อย และบริเวณตอนล่างของอําเภอรัตนบุรี พันธุ์ที นิยม
                  ได้แก่ ห้วยบง 60 ระยอง 5 และเกษตรศาสตร์ 50

                                         -    ไร่ร้าง (A200)  มีเนื<อที รวม 3,723  ไร่ หรือร้อยละ 0.07  ของเนื<อที

                  จังหวัด ซึ งได้แก่ พื<นที ที เดิมเคยเพาะปลูกพืชไร่ แต่ในฤดูการผลิตนี<ไม่ได้ทําการเพาะปลูกใดๆ

                  พบกระจายตัวอยู่ใน อําเภอพนมดงรัก อําเภอปราสาท อําเภอรัตนบุรี อําเภอศรีขรภูมิ อําเภอท่าตูม และ
                  อําเภอศรีณรงค์

                                              นอกจากนี< ยังมีประเภทพื<นที ปลูกพืชไร่ชนิดอื นๆ เช่น ปอแก้ว

                  (ภาพที  23-24) ปอกระเจา แตงโม ข้าวโพด และพริก มีเนื<อที รวม 2,643 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของเนื<อที

                  จังหวัด
                                   (3)  ไม้ยืนต้น (A3) มีเนื<อที รวม 283,737 ไร่ หรือร้อยละ 5.57 ของเนื<อที จังหวัด

                                         -    ยางพารา (A302)  มีเนื<อที รวม 147,589  ไร่ หรือร้อยละ 2.91  ของเนื<อที

                  จังหวัด ซึ งกระจายตัวอยู่บริเวณอําเภอพนมดงรัก อําเภอกาบเชิง อําเภอสังขะ อําเภอบัวเชด
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53