Page 14 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 14

ix






                                                บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

                              รายงานสภาพการใช้ที ดิน และการเปลี ยนแปลงการใช้ที ดิน


                                               จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554


                        ในปี พ.ศ. 2553  สํานักงานจังหวัดสุรินทร์ได้กําหนดให้ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเกษตรอินทรีย์

                  เป็นยุทธศาสตร์หลักของจังหวัด โดยเน้นการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ เนื.องจากจังหวัดสุรินทร์เป็นแหล่ง

                  ปลูกข้าวหอมมะลิที.ดีที.สุดของโลก ซึ.งจะมุ่งเน้นเพื.อเพิ.มรายได้ให้แก่ภาคเกษตรกรรม แต่รายได้จากภาค
                  เกษตรกรรมยังคงตํ.าอยู่  จึงส่งผลให้มีการเปลี.ยนแปลงการใช้ที.ดินไปเป็นการใช้ที.ดินประเภทอื.น ๆ ที.มี

                  ผลตอบแทนที.สูงขึ9น เพื.อให้ได้มีรายได้เพียงพอกับรายจ่ายที.เพิ.มขึ9น ทําให้เกิดปัญหาการเปลี.ยนแปลง

                  พื9นที.การผลิตสินค้าเกษตรตามราคาอย่างไร้ทิศทาง และขาดการวางแผนการผลิตที.ดี เกษตรกรไม่สามารถ
                  กําหนดราคาของผลผลิตได้ รวมทั9งขาดการรวมกลุ่มเพื.อต่อรอง ส่งผลให้มีการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ

                  เพื.อเพิ.มพื9นที.เกษตรกรรม ดังนั9นข้อมูลการใช้ที.ดินในปีปัจจุบันจึงถือได้ว่าเป็นข้อมูลพื9นฐานที.สําคัญ

                  ในการกําหนดนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ต่าง ๆ เพื.อรองรับการพัฒนาของจังหวัดให้สอดคล้องกับ

                  สิ.งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมต่อไปอย่างยั.งยืนในอนาคต
                        1.    สภาพการใช้ที.ดิน จังหวัดสุรินทร์  ปี พ.ศ. 2554 มีเนื9อที.รวมทั9งสิ9น  5,077,535  ไร่ พบว่าสภาพ

                  การใช้ที.ดินจําแนกตามประเภทการใช้ที.ดินมีดังรายละเอียดดังนี9

                             1)   พื9นที.เกษตรกรรม เป็นประเภทการใช้ที.ดินที.มีเนื9อที.มากที.สุด คือ 3,921,278  ไร่

                  หรือร้อยละ 77.22  ของเนื9อที.จังหวัด โดยพืชเศรษฐกิจที.สําคัญได้แก่ นาข้าว 3,402,202 ไร่ ยางพารา
                  147,589 ไร่ ยูคาลิปตัส  133,061 ไร่ อ้อย 119,236 ไร่ และมันสําปะหลัง 97,823 ไร่ ตามลําดับ

                             2)   พื9นที.ป่าไม้ มีเนื9อที.รวม 474,040 ไร่ หรือร้อยละ 9.34  ของเนื9อที.จังหวัด โดยพื9นที.

                  ป่าดิบสมบรูณ์ มีเนื9อที.มากที.สุด 237,467 ไร่ รองลงมาได้แก่ ป่าผลัดใบสมบูรณ์ มีพื9นที. 88,755 ไร่
                  และป่าผลัดใบรอสภาพฟื9นฟู 70,040 ไร่ ตามลําดับ

                             3)   พื9นที.ชุมชนและสิ.งปลูกสร้าง มีเนื9อที.รวม 356,066 ไร่ หรือร้อยละ 7.01 ของเนื9อที.

                  จังหวัด โดยพื9นที.ส่วนใหญ่เป็นพื9นที.หมู่บ้าน 286,198  ไร่ รองลงมาได้แก่ พื9นที.สถานที.ราชการและ
                  สถาบันต่างๆ มีเนื9อที. 32,006 ไร่ ตามลําดับ

                             4)   พื9นที.เบ็ดเตล็ดมีเนื9อที.รวม 169,010  ไร่ หรือร้อยละ 3.32 ของเนื9อที.จังหวัด

                  ส่วนใหญ่เป็นพื9นที.ลุ่ม 71,744 ไร่ และไม้ละเมาะ 62,844 ไร่
                             5)   พื9นที.แหล่งนํ9า มีเนื9อที.รวม 157,141  ไร่ หรือร้อยละ 3.11 ของเนื9อที.จังหวัด ส่วนใหญ่

                  เป็นพื9นที.อ่างเก็บนํ9า 52,637  ไร่ รองลงมาได้แก่ แม่นํ9า ลําคลอง 41,366 ไร่ และหนอง บึง มีเนื9อที.ทั9งหมด

                  35,037 ไร่ ตามลําดับ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19