Page 12 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 12

x





                             6)   พื9นที.เพื.อการอนุรักษ์ของจังหวัดสุรินทร์ มีพื9นที.ทั9งหมด 306,517 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                  6.04  ของเนื9อที.จังหวัด โดยมีพื9นที.ป่าไม้คงเหลืออยู่ในพื9นที.เพื.อการอนุรักษ์ของจังหวัดสุรินทร์รวม

                  272,109  ไร่ หรือร้อยละ 88.77 ของพื9นที.เพื.อการอนุรักษ์ทั9งหมด พบว่าเขตพื9นที.ป่าเพื.อการอนุรักษ์
                  (Zone C) มีการบุกรุกเข้าไปใช้ประโยชน์มากที.สุด ทําให้มีพื9นที.ป่าคงเหลืออยู่เพียงร้อยละ 33.59 ของ

                  พื9นที.ป่าเพื.อการอนุรักษ์ (Zone  C) ทั9งหมด และมีการบุกรุกเข้าไปทําการเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ

                  56.48  ของพื9นที.ป่าเพื.อการอนุรักษ์ (Zone  C) ทั9งหมด พบมากในเขตพื9นที.ป่าทุ่งมน-บักได-ตาเบา

                  ในอําเภอพนมดงรัก และป่าฝั.งซ้ายห้วยทับทันแปลง 3 ในอําเภอสังขะ โดยเป็นพื9นที.ปลูกมันสําปะหลัง
                  มากที.สุด รองลงมาคือ พื9นที.ปลูกอ้อย ยางพารา และนาข้าว ตามลําดับ

                             7)    พื9นที.ในเขตชลประทานจังหวัดสุรินทร์มีเนื9อที.ทั9งหมด 175,588 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                  3.46  ของเนื9อที.จังหวัด ซึ.งมีการใช้ที.ดินเป็นพื9นที.เกษตรกรรม 125,701 ไร่ ร้อยละ 71.59 ของเนื9อที.ในเขต

                  ชลประทาน โดยพบว่าเป็นพื9นที.นาข้าวมากที.สุด  112,805 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 64.24 ของเนื9อที.ในเขต
                  ชลประทาน แต่พบว่ามีพื9นที.ทุ่งหญ้า และพื9นที.ไม้ละเมาะ เหลืออยู่รวม 9,476  ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ

                  5.40  ของเนื9อที.ในเขตชลประทาน  ซึ.งยังไม่มีการใช้ประโยชน์ที.ดินให้เต็มพื9นที.ของเขตชลประทาน

                  โดยพื9นที.ทุ่งหญ้า และพื9นที.ไม้ละเมาะส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มชุดดินที. 15  ซึ.งมีศักยภาพเหมาะสมที.จะ
                  พัฒนาเป็นพื9นที.นาข้าวได้

                      2.     การเปลี.ยนแปลงการใช้ที.ดินจังหวัดสุรินทร์ ระหว่างปี พ.ศ. 2549 และ ปี พ.ศ. 2554

                  ที.สําคัญได้แก่
                             1)   พื9นที.ชุมชนและสิ.งปลูกสร้าง เพิ.มขึ9นจากปี พ.ศ. 2549   มีเนื9อที.รวม 10,551  ไร่

                  จากการขยายตัวของชุมชน  เนื.องจากการเพิ.มขึ9นของประชากร มีการสร้างหมู่บ้านจัดสรร สถานที.

                  พักผ่อนหย่อนใจ ลานตากและแหล่งรับซื9อทางการเกษตร โรงงานอุตสาหกรรม และสถานที.ราชการ
                  และสถาบันต่าง ๆ เพิ.มขึ9น โดยเปลี.ยนแปลงมาจากนาข้าวมากที.สุด รองลงมาได้แก่พื9นที.เบ็ดเตล็ด และ

                  ป่าสมบูรณ์ตามลําดับ

                             2)   พื9นที.เกษตรกรรม เพิ.มขึ9นจากปี พ.ศ. 2549  มีเนื9อที.รวม 60,354  ไร่ เมื.อพิจารณา

                  เป็นรายพืชที.สําคัญ จะพบว่าพื9นที.ปลูกยางพาราเพิ.มขึ9นมากที.สุด 129,187  ไร่ และรองลงมาได้แก่
                  พื9นที.ปลูกอ้อยเพิ.มขึ9น 100,416 ไร่ พื9นที.ปลูกมันสําปะหลังเพิ.มขึ9น 55,060 ไร่ และพื9นที.ปลูกยูคาลิปตัส

                  เพิ.มขึ9น 33,942 ไร่ โดยเปลี.ยนแปลงมาจากพื9นที.นาข้าวมากที.สุด ส่งผลให้พื9นที.นาข้าวลดลง 110,534

                  ไร่ โดยเปลี.ยนแปลงไปปลูกยางพารา 43,496 ไร่ พื9นที.ปลูกอ้อย 49,620 ไร่ พื9นที.ปลูกมันสําปะหลัง
                  14,153 ไร่ และพื9นที.ปลูกยูคาลิปตัส 21,775 ไร่ ตามลําดับ ทั9งนี9เนื.องมาจากความต้องการวัตถุดิบ

                  ป้ อนโรงงานอุตสาหกรรม และราคาของผลผลิตที.สูงขึ9น
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17