Page 41 - ดินเพื่อประชาชน
P. 41

ดินเพื่อประชาชน   38



            ดินเค็มภาคกลาง

                    พื้นที่ดินเค็มบริเวณภาคกลางมีประมาณ 1.13 ลานไร  แหลงเกลือเกิดจาก
            ตะกอนน้ํากรอย หรือเค็มที่ทับถมมานานหรือเกิดจากน้ําใตดินเค็มทั้งที่อยูลึกและอยู

            ตื้น  เมื่อน้ําใตดินไหลผานแหลงเกลือแลวไปโผลที่ดินไมเค็มที่อยูต่ํากวาทําใหดิน
            บริเวณที่ต่ํากวานั้นกลายเปนดินเค็ม ทั้งนี้

            ขึ้นกับสภาพภูมิประเทศ  สาเหตุการเกิด
            แพรกระจายออกมามาก  สวนใหญเกิดจาก

            มนุษยโดยการสูบน้ําไปใชมากเกินไป  เกิด
            การทะลักของน้ําเค็มเขาไปแทนที่  การทํา

            คลองชลประทานรวมทั้งการสรางอางเก็บ
            น้ําเพื่อใชในไรนาบนพื้นที่ที่มีการทับถมของตะกอนน้ําเค็ม หรือจากการขุดหนาดินไป

            ขายทําใหตะกอนน้ําเค็มถึงจะอยูลึกนั้น กลายเปนแหลงแพรกระจายเกลือได

            ดินเค็มชายทะเล

                    มีพื้นที่ประมาณ 3.6  ลานไร  สาเหตุการเกิดดินเค็มชายทะเลเนื่องมาจาก
            การไดรับอิทธิพลจากการขึ้นลงของน้ําทะเลโดยตรง  องคประกอบของเกลือในดิน

            เค็มเกิดจากการรวมตัวของธาตุที่มีประจุบวกพวกโซเดียม  แมกนีเซียม แคลเซียม
            รวมกับธาตุที่เปนประจุลบ เชน คลอไรด ซัลเฟต ไบคารบอเนต และคารบอเนต ดิน

            เค็มที่เกิดในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยู

            ในรูปของเกลือโซเดียมคลอไรด (NaCl)
            คลายคลึงกับดินเค็มชายทะเล  แตดินเค็ม
            ชายทะเล  มีแมกนีเชียมอยูในรูปคลอไรด

            และซัลเฟตมากกวา สวนชนิดของเกลือใน

            ดินเค็มภาคกลางมีหลายรูปมีหลายแหงที่
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46