Page 38 - ดินเพื่อประชาชน
P. 38

ดินเพื่อประชาชน   35



            ตารางที่ 5 พื้นที่ในแตละระดับความรุนแรงของการเกิดดินเปรี้ยวจัด



                           พื้นที่ในแตละระดับความรุนแรงของการเกิดดินเปรี้ยวจัด (ไร)
                 ภาค

                              รุนแรง          รุนแรงมาก           รวม
              กลาง           1,087,045         436,327          1,523,372

              ตะวันออก        83,722           815,935          899,656
              ตะวันตก         60,745            11,104           71,849

              ใต            171,830           2,092,072        2,263,902
              รวม            1,403,341         3,355,438        4,758,779


                    ดินเค็ม

                    ดินเค็ม หมายถึง ดินที่มีปริมาณเกลือที่ละลายอยูในสารละลายดินมาก
            เกินไปจนมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตและผลิตผลของพืช เนื่องจากทําใหพืชเกิด

            อาการขาดน้ํา  และมีการสะสมไอออนที่เปนพิษในพืชมากเกินไปนอกจากนี้ยังทําให
            เกิดความไมสมดุลของธาตุอาหารพืชดวย


            ลักษณะการเกิดและการแพรกระจายดินเค็ม
                    ดินเค็มในประเทศไทยแบงเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ ดินเค็มบกและดินเค็ม

            ชายทะเล  ดินเค็มบกมีทั้งดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  และดินเค็มภาคกลาง
            ดินเค็มแตละประเภทมีสาเหตุการเกิด ชนิดของเกลือ การแพรกระจาย แตกตางกัน

            ตามลักษณะสภาพพื้นที่ และตามลักษณะภูมิประเทศดวย ดังนี้

            ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                    พื้นที่ดินเค็มสวนใหญของประเทศไทยอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้น

            มีพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบทั้งหมดประมาณ  29,957,556  ไร (คิดเปนพื้นที่รอยละ

            28.59 ของประเทศ) โดยแบงเปนพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากเกลือในระดับตางๆ
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43