Page 39 - ดินเพื่อประชาชน
P. 39

ดินเพื่อประชาชน   36



            ดังตารางที่ 6 นอกจากนี้ยังมีพื้นที่สูงที่มีชั้นหินเกลือรองรับอยูขางลางอีกประมาณ

            20,380,734  ไร  หรืออีกประมาณรอยละ 19.45 ของพื้นที่ประเทศไทย

            ตารางที่ 6 แสดงพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากเกลือในระดับตาง ๆ


                    ระดับความรุนแรงของ           พื้นที่ (ไร)   พื้นที่รอยละ

                     ผลกระทบจากเกลือ                             ของประเทศ
             ไดรับผลกระทบจากเกลือมากที่สุด       132,664           0.13

             ไดรับผลกระทบจากเกลือมาก             224,577           0.21
             ไดรับผลกระทบจากเกลือปานกลาง        4,144,149          3.95

             ไดรับผลกระทบจากเกลือเล็กนอย      25,957,556         24.29
                           รวม                  29,957,556         28.59



                    แหลงเกลือมาจากหินเกลือใตดิน  น้ําใตดินเค็มหรือหินทราย  หินดินดานที่
            อมเกลืออยู  ลักษณะอีกประการหนึ่งคือ  ความเค็มจะไมมีความสม่ําเสมอในพื้นที่
            เดียวกันและความเค็มจะแตกตางกันระหวาง

            ชั้นความลึกของดินซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไป

            ตามฤดูกาล  ลักษณะของดินเค็มที่สังเกตไดคือ
            จะเห็นขุยเกลือขึ้นตามผิวดิน และมักเปนที่วาง

            เปลาไมไดทําการเกษตร  หรือมีวัชพืชทนเค็ม
            เชน หนามแดง หนามพุงดอ เปนตน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44