Page 28 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 28

27



                         วิธีที่ 3 ใชปุยสูตร 16-16-8 หรือปุยสูตรใกลเคียง รวมกับแมปุยบางชนิด ดังรายละเอียดในตารางที่

                  ก16 และ ก18
                         วิธีที่ 4 ใชแมปุย 3 ชนิด คือ ยูเรีย ( 46-0-0) ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต (18-46-0) และโพแทสเซียม

                  คลอไรด (0-0-60) ดังรายละเอียดในตารางที่ ก19 และ ก20

                         ขั้นตอนการใชตารางที่ ก15-ก20 มีดังนี้คือ 1) นําขอมูลผลการวิเคราะหดินมาพิจารณาวา มี

                  อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได อยูในเกณฑต่ํา ปานกลางหรือสูง

                  2) เลือกคําแนะนําเกี่ยวกับอัตราธาตุอาหารในตารางที่ ก14 ใหตรงกับชนิดของพันธุขาวปลูก วาเปนขาวไม
                  ไวตอชวงแสงหรือขาวไวตอชวงแสง 3) ตรวจสอบจากวิธีการใชปุย วิธีที่ 1-4 ที่กลาวแลวขางตนวา เกษตรกร

                  สามารถจัดหาปุยแบบใดไดบาง  หากปลูกขาวไมไวตอชวงแสง ใหใชตาราง ก15 ก16หรือ ก19 แตถาปลูก

                  ขาวไวตอชวงแสง ใหใชตาราง ก17 ก18 หรือ ก20โดยเลือกแบบที่ของคําแนะนํา (แบบที่ 1-27) ให

                  สอดคลองกับผลการวิเคราะหดิน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33