Page 26 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 26

25



                          4.2 การเกษตรที่ดี (good agricultural practices, GAP) สําหรับการผลิตพืช

                         การพัฒนาการผลิตสินคาเกษตรของประเทศในปจจุบัน  มีเรื่องสําคัญอยู 2 ประการคือ 1) การ
                  รับรองมาตรฐานสินคาเกษตรสงออก และ 2 ) การปรับปรุงคุณภาพสินคาใหไดมาตรฐาน มีประสิทธิภาพ

                  และเปนที่ยอมรับของนานาประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากทุกประเทศใหความสําคัญดานคุณภาพสินคา เพื่อ

                  คุมครองสุขอนามัยของประชากร  ดังนั้นเพื่อใหผลผลิตของเกษตรกรมีมาตรฐานตามความตองการของ

                  ตลาดทั้งภายในและตางประเทศ จึงควรดําเนินการเพาะปลูก ดวยวิธีที่กรมวิชาการเกษตรแนะนําไวใน
                  เอกสาร  เกษตรดีที่เหมาะสม สําหรับพืชนั้นๆ ตัวอยางพืชที่มีเอกสารเผยแพรพรอมแลว แสดงไวในตารางที่

                  ก13


                   ตารางที่ ก13 ตัวอยางรายชื่อพืชที่กรมวิชาการเกษตรมีเอกสารเผยแพรพรอมแลว

                            ขาว                 พืชไร           พืชผัก        ไมผล             พืชตัดดอก
                    ขาว (ในเขตชลประทาน)  ขาวโพดเลี้ยงสัตว   กระเจี๊ยบเขียว   กลวยไข         กลวยไม

                                         ถั่วลิสง            กวางตุง          ทุเรียน
                                         ถั่วเหลืองฝกสด     กะหล่ําปลี        มะมวง

                                         ปาลมน้ํามัน        ขาวโพดฝกออน    ลําไย
                                         ฝาย                ขาวโพดหวาน       สมเขียวหวาน

                                         มันสําปะหลัง        คะนา             สมโอ
                                         ยางพารา             ถั่วฝกยาว        สับปะรด
                                         หมอน               ถั่วลันเตา

                                         ออย                ผักกาดขาวปลี
                                         ออยคั้นน้ํา        พริก

                                         กาแฟโรบัสตา        มะเขือเทศ
                                                             หนอไมฝรั่ง
                                                             หอมแบง

                                                             หอมหัวใหญ


                          4.4 การใชปุยนาโดยพิจารณาจากผลการวิเคราะหดินทางเคมี
                         การกําหนดสูตรปุย และอัตราปุย  เพื่อใหธาตุหลัก คือไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม

                  สําหรับขาวไมไวตอชวงแสง และขาวไวตอชวงแสง โดยพิจารณาจากผลการวิเคราะหดิน 3 รายการคือ

                  อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได  เปนวิธีการที่เหมาะสมที่สุดกลาว
                  คือ หากดินมีอินทรียวัตถุต่ํา ยอมปลดปลอยไนโตรเจนรูปที่เปนประโยชนตอขาวไดนอย จึงจําเปนตองใชปุย

                  ไนโตรเจนอัตราสูง  แตถาชาวนาใสปุยอินทรียอยางสม่ําเสมอจนดินมีอินทรียวัตถุสูงขึ้น  ก็ใชปุยไนโตรเจน

                  ในอัตราที่ต่ําลง  สําหรับความสัมพันธระหวางผลการวิเคราะหฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนและโพแทสเซียมที่

                  แลกเปลี่ยนได  กับอัตราปุยฟอสเฟต และปุยโพแทชก็เปนไปในทํานองเดียวกัน ดังขอมูลในตารางที่ ก
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31