Page 27 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 27

26





                  ตารางที่ ก14   อัตราของไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส  และโพแทสเซียมที่ควรใชกับขาวไวตอชวงแสง  และขาวไมไวตอชวงแสง
                               ซึ่งปลูกในดินที่มีอินทรียวัตถุ  ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน  และ โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนไดแตกตางกัน


                   อินทรียวัตถุ(%)   ปริมาณไนโตรเจน         ปริมาณฟอสฟอรัส             ปริมาณโพแทสเซียม
                                  ไวแสง     ไมไวแสง    ที่วิเคราะหได   ที่ตองใส   ที่วิเคราะหได   ที่ตองใส
                   ที่วิเคราะหได  (กก.N/ไร) (กก.N/ไร)  ( มก.P/กก. )   (กก.P O /ไร)  ( มก. K / กก. )   (กก.K O/ไร)
                                                                                                       2
                                                                           2 5
                   นอยกวา 1(ต่ํา)   9        18     นอยกวา 5(ต่ํา)    6       นอยกวา60 (ต่ํา)    6
                   1–2 (ปานกลาง)      6        12     5 –10(ปานกลาง)      3       60–80(ปานกลาง)       3

                   มากกวา 2 (สูง)    3         6     มากกวา 10(สูง)     0       มากกวา 80(สูง)      0

                  ที่มา :  สถาบันวิจัยขาว (2547)

                         ขอมูลในตารางที่ ก14 มีขอสังเกตเรื่องอัตราปุย  สําหรับขาวไมไวตอชวงแสงและขาวไวตอชวงแสง
                  ดังนี้คือ

                         1) การปลูกขาวในดินที่มีอินทรียวัตถุเทากัน จะใชปุยไนโตรเจนสําหรับขาวไมไวตอชวงแสง ใน

                  อัตราที่สูงเปนสองเทาของอัตราที่ใชกับขาวไวตอชวงแสง

                         2) หากปลูกขาวไมไวตอชวงแสง และขาวไวตอชวงแสง  ในดินซึ่งมีฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนหรือ

                  โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนไดเทากัน  ใหใชปุยฟอสเฟตหรือปุยโพแทชสําหรับขาวทั้งสองประเภทนี้ในอัตราที่
                  เทากัน

                         ดังนั้นเมื่อดินนาที่มีอินทรียวัตถุ 1-2 เปอรเซ็นต (ระดับปานกลาง) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน 5-10

                  สวนตอลานสวนหรือ 5-10 ppmP (ระดับปานกลาง) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนไดนอยกวา 60 สวนตอ

                  ลานสวนหรือ นอยกวา 60 ppmK (ระดับต่ํา) ควรใสปุยที่ใหธาตุอาหาร  สําหรับขาวไมไวตอชวงแสง และ
                  ขาวไวตอชวงแสงในอัตราตอไปนี้

                         1) ขาวไมไวตอชวงแสง ใสปุยเพื่อใหธาตุอาหารในอัตรา 12 กก.N/ไร  3 กก. P O /ไร  และ 6 กก.
                                                                                             2 5
                  K O/ไร (ตารางที่ ก15  ก16 หรือ ก19 คําแนะนําแบบที่ 15)
                   2
                         2) ขาวไวตอชวงแสง ใสปุยเพื่อใหธาตุอาหารในอัตรา 6 กก.N/ไร  3 กก.P O /ไร  และ 6 กก.K O/ไร
                                                                                                        2
                                                                                       2 5
                  (ตารางที่ ก17  ก18 หรือ ก20 คําแนะนําแบบที่ 15)
                         สําหรับแนวทางในการเลือกสูตรปุย และอัตราปุยนั้นๆ ที่จะใช  เพื่อใหไดปริมาณธาตุอาหารตามที่

                  กําหนด มี 4 วิธีคือ

                         วิธีที่ 1 ใชปุยสูตร 16-20-0 หรือสูตรใกลเคียง รวมกับแมปุยบางชนิด ในคําแนะนําปุยนาสําหรับ

                  กลุมชุดดินตางๆ ใชวิธีนี้โดยตลอด
                         วิธีที่ 2 ใชแมปุย 3 ชนิด คือ ยูเรีย (46-0-0) ทริปเปลซูเปอรฟอสเฟต (0-46-0) และโพแทสเซียมคลอ

                  ไรด (0-0-60) ดังรายละเอียดในตารางที่ ก15 และ ก17
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32