Page 575 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 575

561



                                w  =  พื้นที่ไมเหมาะสมตอการใชเครื่องจักรกล

                                e  =  พื้นที่งายตอการชะลาง


                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช

                         ในปจจุบันมีการใชประโยชนกลุมชุดดินที่ 53  สําหรับปลูกยางพารากันมาก นอกจากนี้ยังใชปลูกไมผล

                  พืชไรบางชนิด  เชน ขาวโพด ขนุน ทุเรียน มังคุด มะละกอ และกาแฟดวย  อยางไรก็ตามยังมีปญหาและ

                  ขอจํากัด ในการใชประโยชนกลุมชุดดินที่ 53 สําหรับการปลูกพืชตางๆ หลายอยาง คือ

                          5.1 ความลึกของดินและการปะปนของกอนกรวดหรือเศษหินในชั้นดิน  เนื่องจากกลุมชุดดินนี้

                  เปนดินลึกปานกลาง มีชั้นลูกรัง กอนกรวดหรือเศษหิน  หรือชั้นหินพื้นของหินดินดานปะปนอยูในดินมาก

                  โดยเฉพาะในชวงความลึก 50-100 ซม. ซึ่งทําใหพืชรากลึก เชน ยางพาราและไมผล เจริญเติบโตไดไมดีนัก

                          5.2 การชะลางพังทลายของดิน  กลุมชุดดินนี้อยูในภูมิประเทศเปนลูกคลื่นลอนลาดถึงเปนเนินเขา

                  หากไมมีการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม จะเกิดการชะลางพังทลาย และสูญเสียหนาดินจนกลายเปนดิน

                  ตื้น

                          5.3 ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา  ชุดดินตางๆ ในกลุมชุดดินนี้มีความอุดมสมบูรณต่ํา เนื่องจาก

                  วัตถุตนกําเนิดดินเปนหินดินดาน และผานกระบวนการสรางดินมานาน จึงทําใหธาตุอาหารตางๆ ถูกชะลาง

                  ออกไปจากดินปริมาณมาก


                          5.4  ขาดแคลนน้ําในการปลูกพืช  ดินในกลุมดินนี้มีการระบายน้ําดี  พบชั้นหินพื้นในหนาตัดดิน
                  ระดับน้ําใตดินอยูลึก และสภาพพื้นที่มีความลาดชัน จึงมีแนวโนมที่จะขาดแคลนน้ําหากฝนทิ้งชวงนาน


                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                         การจัดการดินใหเหมาะสมในการปลูกพืชนั้นจะตองพิจารณาขอจํากัดตางๆ แลวจัดระบบการใช

                  ที่ดินใหสอดคลองกับศักยภาพของดิน ดังนี้

                          6.1 เลือกพืชใหเหมาะสมกับสภาพดิน  กลุมชุดดินที่ 53 พบในที่ดอน ภูมิประเทศเปนลูกคลื่นลอน

                  ลาดถึงเนินเขา ดินมีการระบายน้ําดี จึงไมเหมาะกับการทํานา แตมีศักยภาพในการปลูกพืชไร ไมผล ไมยืนตน และ

                  พัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว เนื่องจากสภาพภูมิอากาศเปนแบบรอนชื้น  มีฝนตกชุกเกือบตลอดป  พืชที่

                  แนะนําใหปลูกบนพื้นที่ซึ่งมีความลาดชันนอย ไดแก ไมผล พืชไร พืชผัก และหญาเลี้ยงสัตว สวนในพื้นที่ซึ่ง
                  มีความลาดชันสูง ควรปลูกยางพารา ไมโตเร็ว หรือปลูกสรางสวนปา


                          6.2 จัดระบบการปลูกพืชใหเหมาะสม  ดังนี้คือ 1) ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีพืชตระกูลถั่วแทรกอยูกับ

                  พืชหลักชนิดอื่น  และ 2) ปลูกพืชแซม เชน ปลูกพืชตระกูลถั่ว หรือพืชอายุสั้น เชน กลวย แตงโม มะละกอ
   570   571   572   573   574   575   576   577   578   579   580