Page 572 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 572

558



                  ใหน้ําซึมผานไดดีปานกลาง มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว ตามปกติแลวระดับน้ําใตดินอยู

                  ลึกกวา 1 เมตร ตลอดป
                         ดินบนลึกไมเกิน 20 ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวน ดินรวนปนทรายแปง หรือดินรวนปนเหนียว สีพื้นเปน

                  สีเขมมากของน้ําตาลปนเทา ถึงสีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดรุนแรงมาก(pH 4.5-5.5)  ดินบน

                  ตอนลาง มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียว สีพื้นเปนสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกรดปาน

                  กลางถึงกรดจัด(pH 5.5-6.0)  ดินลางลึกไมเกิน 50  ซม. มีเนื้อดินเปนพวกหินดินดานที่กําลังสลายตัว

                  บางครั้งอาจจะพบชั้นบางๆ ของศิลาแลง ซึ่งปรากฎอยูเหนือชั้นหินดินดานที่กําลังสลายตัว ปฏิกิริยาดินเปน
                  กรดปานกลางถึงกรดจัด(pH 5.5-6.0)


                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ
                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973

                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ

                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 53.5

                  ตารางที่ 53.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน


                                          CEC         BS           OM        Avai.P   Exch.K  ระดับความอุดม
                      ชุดดิน    pH
                                        cmol /kg      (%)          (%)      (mg/kg)  (mg/kg)      สมบูรณ
                                            c
                   คลองเต็ง      -       26.24        6.30        3.04       2.05      98.40     ปานกลาง
                   ตรัง          -        4.67       19.30        1.60       4.87      32.80        ต่ํา
                   ตราด          -        8.35        5.87        2.71       3.16      46.00        ต่ํา

                   นาทอน         -        7.80       12.00        2.95       3.10      78.00        ต่ํา
                   ปาดังเบซาร   -        1.98       28.03        1.19       1.72      31.40        ต่ํา

                   โอลําเจียก    -       47.15       79.20        7.90       68.71     27.65        สูง
                   คามัธยฐาน    -        8.08       15.65        2.83       3.13      39.40        ต่ํา


                  สรุป : จากการประเมินความอุดมสมบูรณของชุดดินที่ 53 พบวาความอุดมสมบูรณต่ําถึงสูง


                  4. การประเมินความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชตางๆ

                         กลุมชุดดินที่ 53 มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจ เชน เงาะ มังคุด ทุเรียน  ยางพารา

                  พืชไร และพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว แตมีปญหาบางเล็กนอย เนื่องจากมีชั้นกรวดและเศษหินในตอนลาง
   567   568   569   570   571   572   573   574   575   576   577