Page 555 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 555

541



                         ดินบนลึกไมเกิน 20 ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียว หรือดินเหนียว อาจมีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียว

                  ปนทรายแปง ถึงดินเหนียวปนทรายแปง สีพื้นเปนสีน้ําตาลเขมปนเทา ถึงสีน้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดินเปน
                  กลางถึงดางปานกลาง(pH 7.0-8.0)  สวนดินลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียว อาจมีเนื้อดินเปนดินเหนียวปน

                  ทรายแปง สีพื้นเปนสีน้ําตาลเขมมากปนแดง สีน้ําตาลปนแดง หรือสีแดงปนเหลือง ในตอนลางของชั้นนี้จะ

                  พบกอนหินปูนทุติยภูมิสะสมประมาณ 40-80  เปอรเซ็นต ปะปนอยูกับเนื้อดิน ปฏิกิริยาดินเปนดางปาน

                  กลางถึงดางจัด(pH 8.0-8.5)

                         3.2.2 ชุดดินตาคลี (Takhli series: Tk)

                         จัดอยูใน loamy skeletal,carbonatic, isohyperthermic Entic Haplustolls  เกิดจากผุพังของ

                  หินปูนที่เคลื่อนที่มาทับถมโดยแรงดึงดูดของโลกและหินปูนที่ผุพังอยูกับที่บนพื้นผิวที่เหลือคางจากการกัด
                  กรอนและที่ลาดเชิงเขาหินปูน สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะคอนขางราบเรียบจนถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด

                  เล็กนอย มีความลาดชัน 1-5 เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินตื้น มีการระบายน้ําดี มีความสามารถใหน้ําซึมผาน

                  เร็ว มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลาง

                         ดินบนลึกประมาณ 10-30  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายถึงดินเหนียว อาจจะมีกอนหินปูนอยู

                  บางเล็กนอย สีพื้นเปนสีดําถึงสีเขมของน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนดางปานกลาง(pH 8.0) สวนดินลาง
                  ลึกไมเกิน 50  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายถึงดินเหนียวสีพื้นเปนสีน้ําตาลเขม ในดินลางนี้จะพบกอน

                  ของหินปูนเปนจํานวนมาก ชั้นของหินปูนจะพบในระดับความลึกไมเกิน 50  ซม. ปฏิกิริยาดินเปนดางปาน

                  กลาง(pH 8.0)

                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน


                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ
                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ

                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973
                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ

                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 52.5


                  ตารางที่ 52.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน

                                          CEC         BS          OM         Avai.P   Exch.K     ระดับความ
                      ชุดดิน     pH
                                        cmol /kg      (%)         (%)       (mg/kg)   (mg/kg)   อุดมสมบูรณ
                                            c
                   ตาคลี         7.80     3.20       13.00        3.48       13.60    214.50        ต่ํา
                   บึงชนัง        -       3.75       18.27        6.84       9.10     340.00        ต่ํา

                   คามัธยฐาน    7.80     3.48       15.64        5.16       11.35    277.25        ต่ํา
   550   551   552   553   554   555   556   557   558   559   560