Page 554 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 554

540




                   ตารางที่ 52.3 (ตอ) การแพรกระจายของกลุมชุดดินที่ 52 ในจังหวัดตางๆ

                           ภาค           เขตพัฒนาที่ดิน             จังหวัด                    เนื้อที่ (ไร)

                   ใต                        11                    สุราษฎรธานี               1,432.03

                                                  รวมทั้งสิ้น                              2,339,831.90


                  2. การจําแนกดิน


                         ชื่อชุดดิน(soil series)  และการจําแนกระดับวงศ(soil family) ในกลุมชุดดินที่ 52  ตามระบบ

                  อนุกรมวิธานดิน(soil taxonomy) แสดงไวในตารางที่ 52.4

                  ตารางที่ 52.4 การจําแนกดินระดับวงศดิน


                         ชุดดิน(soil series)   การจําแนกระดับวงศดิน ป 1975   การจําแนกระดับวงศดิน ป 1998

                   บึงชะนัง                    fine, mixed                    fine, mixed, superactive,
                    (Bung Chanang series: Bng)   Fluventic Eutropepts         isohyperthermic
                                                                              Fluventic Eutrudepts

                   ตาคลี                       loamy skeletal, carbonic       loamy skeletal,carbonatic,
                   (Takhli series: Tk)         Udorthenic Haplustolls         isohyperthermic

                                                                              Entic Haplustolls


                  3. ลักษณะของกลุมชุดดินและชุดดินในกลุมชุดดินที่ 52

                          3.1  ลักษณะของกลุมชุดดินที่ 52  เปนดินตื้นถึงตื้นมาก พบกอนปูนหรือปูนมารลปะปนอยูในเนื้อ

                  ดินมาก พบภายในความลึก 50 ซม. จากผิวดินบน เนื้อดินชั้นบนเปนดินรวนเหนียวหรือดินเหนียว สีน้ําตาล

                  เขมหรือสีดํา สวนดินชั้นลางเปนดินเหนียวปนกอนปูนหรือปูนมารล สีเทาเขม สีน้ําตามเขมมากปนเทา สี
                  น้ําตาล หรือสีน้ําตาลปนแดง ปฏิกิริยาเปนกลางถึงดางจัด(pH 7.0-8.5)  ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ

                  อยูในระดับปานกลางถึงสูง


                          3.2 ลักษณะของชุดดินในกลุมชุดดินที่ 52

                         3.2.1 ชุดดินบึงชะนัง (Bung Channung series: Brg)

                         จัดอยู fine, mixed, superactive, isohyperthermic Fluventic Eutrudepts เกิดจากการสลายตัว
                  ของหินปูน หินกรวดเหลี่ยมและหินกรวดมน บนบริเวณที่ลาดเชิงเขา และพื้นผิวที่เหลือคางจากการกัดกรอน

                  สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเกือบเรียบ ถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-5  เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดิน

                  ตื้น ถึงลึกปานกลาง มีการระบายน้ําดี มีความสามารถใหน้ําซึมผานไดเร็วปานกลาง มีการไหลบาของน้ําบน
                  ผิวดินเร็ว ตามปกติแลวระดับน้ําใตดินอยูต่ํากวา 2 เมตร ตลอดป
   549   550   551   552   553   554   555   556   557   558   559