Page 546 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 546

532



                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                         เนื่องจากกลุมชุดดินนี้มีชั้นเศษหินหรือชั้นหินพื้นในความลึก 50 ซม. และสภาพพื้นที่มีความลาดชัน

                  สูง จึงไมเหมาะสําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ ควรสงวนไวเปนปาธรรมชาติหรือปลูกสรางสวนปาเพื่อทดแทนปา

                  เดิมที่เสื่อมโทรม  อยางไรก็ตามในบางพื้นที่อาจใชปลูกพืชชนิดตางๆ เชน ยางพารา  ปาลมน้ํามันหรือไมโต

                  เร็ว แตตองมีการจัดการที่ดีจึงจะไดผลผลิตในระดับที่นาพอใจ ดังนี้

                          6.1 การอนุรักษดินและน้ํา  เปนสิ่งจําเปนมากเนื่องจากสภาพพื้นที่เอื้อตอการชะลางพังทลายของ

                  ดินสูง  ควรมีการอนุรักษดินและน้ําดังนี้ คือ ในพื้นที่ซึ่งมีความลาดชันนอยกวา 12  เปอรเซ็นต  ควรใช

                  มาตรการดานพืช เชน ปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชขวางความลาดเท ปลูกหญาแฝก หรือพืชตระกูลถั่วสลับกับ
                  พืชหลัก เพื่อชะลอการไหลบาของน้ํา สวนในพื้นที่ซึ่งมีความลาดชันมากกวา 12 เปอรเซ็นต ควรใชวิธีกลเขา

                  มาเสริม เชน ทําคันดิน ทําขั้นบันไดดิน ขุดรองระบายน้ําและบอดักตะกอนเปนตน


                          6.2  เลือกชนิดพืชและเตรียมหลุมปลูก  ควรเลือกชนิดพืชที่เหมาะสมมาปลูก ขุดหลุมใหโตกวา

                  ปกติ เอาเศษหินออกและใสปุยอินทรีย เชน ปุยคอกหรือปุยหมัก

                          6.3  ปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน  โดยการใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี ปุยอินทรียที่ใช

                  ไดแก ปุยคอก ปุยหมักหรือปุยพืชสด สําหรับการทําปุยพืชสดนั้นเริ่มจากการปลูกพืชตระกูลถั่วในพื้นที่ กอน
                  ปลูกพืชหลักประมาณ 2 เดือน เมื่อพืชตระกูลถั่วออกดอกก็พรวนกลบเพื่อบํารุงดิน  ตอจากนั้นหากดินยัง

                  ขาดธาตุใดธาตุหนึ่งก็เสริมดวยปุยเคมีที่ใหธาตุดังกลาว


                          6.4 จัดระบบการปลูกพืช  ควรเลือกระบบที่เหมาะสมกับสภาพดิน เชน 1) ปลูกแตงโม กลวย แซม

                  ในแถวไมยืนตนที่เปนพืชหลัก ในชวงที่พืชหลักยังไมใหผลผลิต 2) ปลูกพืชยืนตนรวมกับพืชตระกูลถั่วตาม
                  แนวระดับ  หรือ 3) ปลูกพืชหมุนเวียนซึ่งมีพืชตระกูลถั่วแทรกอยูในระบบ ในบางปก็ปลูกพืชปุยสดแลวไถ

                  กลบกอนปลูกพืชหลักดวย


                          6.5 การเลือกชนิดของพืชใหเหมาะสม  เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความลาดเทสูง  ดินมีการระบาย

                  น้ําดี สภาพภูมิอากาศเปนแบบรอนชื้น ดินมีศักยภาพในการปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน กาแฟ และผลไมได
                  ดีกวาพืชอื่นๆ


                          6.6  พัฒนาแหลงน้ําและอนุรักษน้ําในดิน   โดย 1) พัฒนาอางเก็บน้ําขนาดเล็ก 2) คลุมดินดวย
                  วัตถุทางการเกษตร เชน ฟางขาวหรือเศษซากพืช และ 3) ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อปองกันการระเหยน้ําจากดิน


                  7. ขอเสนอแนะ

                         กลุมดินชุดนี้จัดวาไมคอยเหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจทั่วๆ ไป เนื่องจากเปนดินตื้น  มีความ

                  ลาดเทสูง หากตองการใชปลูกพืช ควรเลือกเฉพาะพื้นที่ซึ่งมีความลาดเทไมสูงมากนัก สวนชนิดพืชที่ควร

                  ปลูก คือ ยางพารา ไมผล พืชไร และพืชสวนตางๆ ดวยระบบการเกษตรแบบผสมผสาน สวนบริเวณพื้นที่ซึ่ง
   541   542   543   544   545   546   547   548   549   550   551