Page 506 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 506

492



                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 48  ประกอบดวยชุดดินแมริม นาเฉลียง น้ําชุน พะเยา และทายาง เปนดินตื้นถึงตื้น

                  มาก พบชั้นกรวดลูกรังภายในความลึก 50 ซม.จากผิวดิน เกิดบริเวณพื้นที่ซึ่งเหลือคาง ภายหลังการกรอน

                  และอยูบนตะพักลําน้ําระดับกลางถึงสูง สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดถึงที่ลาดเชิงเขา มีความลาดเท 2-

                  20  เปอรเซ็นต  ดินบนเปนดินรวนปนทราย สวนดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายปนเศษหิน หรือกรวด
                  ลูกรัง หรือดินเหนียวปนกรวดลูกรัง ดินมีสีน้ําตาล สีแดงปนเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลาง

                  คาพีเอช 5.0-6.0 ความอุดมสมบูรณต่ําถึงปานกลาง


                         ศักยภาพของชุดดินกลุมนี้คอนขางไมเหมาะสมถึงไมเหมาะสมในการปลูกพืชไร และไมผลหรือไม
                  ยืนตน  เนื่องจากดินตื้นถึงตื้นมาก  ไมเหมาะในการทํานาเนื่องจากดินเก็บกักน้ําไมอยู  การชะลางพังทลาย

                  ของหนาดินปานกลางถึงรุนแรงปญหาที่สําคัญ ไดแก ดินตื้น มีการชะลางพังทลายมากดินจึงเสื่อมโทรมเร็ว

                  และขาดแคลนแหลงน้ําในการเพาะปลูก  การจัดการดินควรเนนการอนุรักษดินและน้ําดวยวิธีทางพืช

                  ผสมผสานกับวิธีกล หากใชเพื่อปลูกไมผลหรือไมยืนตนบางชนิด ควรเตรียมหลุมปลูกใหกวาง และผสมปุย

                  อินทรียกับดินในหลุมปลูก การใชประโยชนที่เหมาะสมแบบหนึ่ง คือ พัฒนาเปนทุงหญา และเลี้ยงสัตว ปลูก
                  พืชไรรากตื้น  และไมโตเร็วบางชนิด เชน ยูคาลิปตัส และกระถินยักษ โดยดําเนินการในระบบเกษตร

                  ผสมผสาน
   501   502   503   504   505   506   507   508   509   510   511