Page 426 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 426

412



                                o  =  ความสามารถในการระบายน้ําในชวงที่ปลูกไมเหมาะสม

                                s  =  สภาพธาตุอาหารพืชในชวงที่ปลูกไมเหมาะสม


                                r  =  สภาพดินไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของรากพิจารณาเฉพาะเนื้อดิน


                                                   และโครงสรางดิน

                                z  =  สภาพปฏิกิริยาดิน(pH ) ของดินไมเหมาะสม


                                k  =  ดินไมเหมาะสมตอการทําเขตกรรมพิจารณาเฉพาะความลึกดิน

                                                   เนื้อดิน และโครงสรางดิน


                                x  =  ดินมีอิทธิพลของเกลือ

                                w  =  พื้นที่ไมเหมาะสมตอการใชเครื่องจักรกล


                                e  =  พื้นที่งายตอการชะลาง

                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช


                          5.1 ดินอุมน้ําไดนอย   เนื่องจากเนื้อดินบนคอนขางเปนทรายจัด ทําใหความสามารถในการอุมน้ํา
                  ต่ํา ดินจะแหงเร็ว ดังนั้นในระยะที่ฝนทิ้งชวงพืชจะขาดน้ํา


                          5.2 ความอุดมสมบูรณต่ํา  ดินมีเนื้อหยาบจึงมีความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารพืชไดนอย
                  และขาดแคลนธาตุอาหารบางธาตุ


                          5.3 การชะลางพังทลายของดินสูง  โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ลาดเชิงเขา หรือมีความลาดเทสูงกวา

                  5 เปอรเซ็นต ซึ่งใชเพาะปลูกโดยขาดการอนุรักษดินและน้ํา

                          5.4 ขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก   เนื่องจากไมมีระบบชลประทานเขาถึง  การเพาะปลูกตอง

                  อาศัยน้ําฝนเพียงอยางเดียว ในชวงฤดูแลงไมสามารถปลูกพืชไดเนื่องจากขาดน้ํา


                          5.5 น้ําขังในดินชั้นลาง   เกิดสภาพดังกลาวเมื่อมีฝนตกหนัก ทําใหพืชที่ปลูก เชน มันสําปะหลัง
                  ไดรับผลกระทบอยางมาก พบในบางบริเวณของชุดดินน้ําพอง


                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                          6.1 การปรับปรุงสมบัติทางดานกายภาพ  โดยใชปุยอินทรีย  เชน ปุยคอกหรือปุยหมัก อัตรา 2

                  ตัน/ไร หรือปลูกพืชปุยสดแลวไถกลบ เมื่อพืชปุยสดออกดอกประมาณ 50 เปอรเซ็นต และกอนปลูกพืชหลัก

                  ประมาณ 3 สัปดาห จะชวยเพิ่มอินทรียวัตถุใหแกดิน และทําใหดินอุมน้ําไดมากขึ้น

                          6.2 การอนุรักษดินและน้ํา   มีความจําเปนมากโดยเฉพาะในพื้นที่ซึ่งมีความลาดเทสูงกวา

                  5 เปอรเซ็นต ซึ่งงายตอการชะลางพังทลายของดิน  จึงตองมีการอนุรักษดินและน้ําอยางเหมาะสม ดังนี้
   421   422   423   424   425   426   427   428   429   430   431