Page 430 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 430

416



                          9.2 การใชปุยสําหรับพืชผัก

                         9.2.1 กวางตุง  หลังถอนแยก ใชปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 30 และ 10 กก./ไร

                  ตามลําดับ

                         9.2.2 คะนา  หลังถอนแยกเมื่อคะนาอายุ 20 วัน ใชปุยสูตร 16-8-8 และปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 20

                  และ 10 กก./ไรตามลําดับ


                         9.2.3 ผักกาดขาวปลี  หลังปลูกประมาณ 7 วัน ควรใหปุยคอก อัตรา 3-4 กก./ตร.ม. ผสมกับปุย

                  สูตร 15-15-15 อัตรา 30 กก./ไร และหลังจากปลูกไดประมาณ 15 วัน ควรใชปุยสูตร 46-0-0 อัตรา
                  20 กก./ไร โดยหวานใหทั่วแปลงปลูก


                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 44 ประกอบดวยชุดดินจันทึกและน้ําพอง ซึ่งเกิดจากการทับถมของตะกอนเนื้อหยาบ

                  หรือจากการสลายตัวผุพังของหินเนื้อหยาบ  พบบริเวณตะพักลําน้ําระดับกลาง หรือพื้นที่ซึ่งเหลือคางจาก

                  การกรอนหรือที่ลาดเชิงเขา มีความลาดเทอยูระหวาง 2-16 เปอรเซ็นต สภาพการระบายน้ําดีถึงคอนขางดี

                  เกินไป มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา และความสามารถในการอุมน้ําต่ําดวย

                         ลักษณะเนื้อดินคอนขางเปนทรายจัด  ปฏิกิริยาดินเปนเปนกลางถึงกรดจัด พีเอช 5.5-7.0  ปจจุบัน

                  ใชในการปลูกพืชไรและไมผลหรือไมยืนตนบางชนิด เชน มันสําปะหลัง ออย มะมวงและยูคาลิปตัส เปนตน
                  กลุมชุดดินนี้มีศักยภาพไมคอยเหมาะสมในการปลูกพืชไรและไมผล ไมเหมาะสมในการทํานา  แตมี

                  ศักยภาพพอที่จะใชในการพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตวและปลูกไมโตเร็วบางชนิด


                         ปญหาการใชประโยชนกลุมชุดดินที่ 44  ไดแก สมบัติทางกายภาพ เนื่องจากคอนขางเปนทราย

                  จัดทําใหอุมน้ําไดนอย ดินจึงแหงจัดในฤดูแลง  ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา ในพื้นที่มีความลาดเทสูงการ
                  ชะลางพังทลายจะมาก มักขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก มีน้ําขังแฉะในดินชั้นลางโดยเฉพาะชุดดินน้ําพอง

                  ที่ใชปลูกมันสําปะหลัง  ดังนั้นการจัดการกลุมชุดดินนี้จึงควรเนนการปรับปรุง 1) สมบัติทางกายภาพและ

                  ความอุดมสมบูรณของดิน 2) ใชวัสดุคลุมดินหรือปลูกพืชคลุมเพื่อรักษาความชื้นในดิน และ 3) การพัฒนา

                  แหลงน้ําเพื่อใชในระยะฝนทิ้งชวง อยางไรก็ตามการพัฒนาแหลงน้ํามีขอจํากัดมาก เนื่องจากสภาพพื้นที่ไม

                  คอยเหมาะสมและดินไมคอยเก็บกักน้ํา โดยเฉพาะชุดดินจันทึก
   425   426   427   428   429   430   431   432   433   434   435