Page 423 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 423

409



                  3. ลักษณะของกลุมชุดดินและชุดดินในกลุมชุดดินที่ 44

                          3.1 ลักษณะของกลุมชุดดินที่ 44 เปนดินลึกมาก ลักษณะเนื้อดินเปนดินทรายปนดินรวน สีน้ําตาล

                  ปนเทาหรือสีน้ําตาลออน ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงกรดจัด(pH 5.5-7.0) ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา

                          3.2 ลักษณะของชุดดินในกลุมชุดดินที่ 44


                         3.2.1 ชุดดินจันทึก (Chan Tuk series: Cu)
                         จัดอยูใน mixed, isohyperthermic Typic Ustipsamments เกิดจากวัตถุตกคางของหินแกรนิตบน

                  พื้นผิวที่เหลือตกคางจากการกัดกรอน ลักษณะพื้นที่ที่พบมีลักษณะลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชัน 2-5

                  เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึก มีการระบายน้ํามากเกินไป ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานเร็ว มีการไหลบา

                  ของน้ําบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว
                         ดินบนลึกไมเกิน 15  ซม. มีเนื้อดินเปนดินทรายปนดินรวน สีพื้นเปนสีเขมมากของน้ําตาลปนเทา

                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลาง(pH 6.0) สวนดินลางลึกตั้งแต 15 ซม.ลงไป มีเนื้อดินเปนดินทรายปนดินรวน

                  สีพื้นเปนสีน้ําตาลซีด ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-5.5)

                         3.2.2 ชุดดินน้ําพอง (Nam Phong series: Ng)

                         จัดอยูใน loamy, siliceous, isohyperthermic Aerinic Haplustalfs เกิดจากการทับถมของตะกอน

                  จากลําน้ําเกา บนตะพักลําน้ําระดับกลาง สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะคอนขางราบเรียบจนถึงเปนลูกคลื่น
                  ลอนลาด มีความลาดชัน 2-7        เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึก มีการระบายน้ําดีคอนขางมาก ดินมี

                  ความสามารถใหน้ําซึมผานเร็ว มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว

                         ดินบนลึกไมเกิน 20  ซม. มีเนื้อดินเปนดินทรายปนดินรวน สีพื้นเปนสีเขมของน้ําตาลปนเทา,

                  น้ําตาลปนเทาหรือสีน้ําตาลออน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงดางปานกลาง(pH 5.0-8.0)  สวนดินลางมี

                  เนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน สีพื้นเปนสีน้ําตาลออน สีออนของน้ําตาลปนเหลืองหรือ
                  สีชมพูปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-6.0)  และในบางแหงจะพบชั้นของดินเหนียว

                  ปนทราย หรือดินรวนเหนียวปนทรายในดินชั้นลางลึกๆ ดวย

                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน


                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได
                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ

                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973

                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ
                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 44.5
   418   419   420   421   422   423   424   425   426   427   428