Page 419 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 419

405



                          1.2 วัตถุตนกําเนิดดิน : เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ําเนื้อหยาบ หรือเกิดจากการสลายตัวผุ

                  พัง ของหินเนื้อหยาบ เชน ควอรตไซต แกรนิต เปนตน

                          1.3 ภูมิสัณฐาน : ตะพักลําน้ําระดับกลาง หรือพื้นที่ที่เหลือคางจากการกรอน หรือที่ลาดเชิงเขา


                          1.4 สภาพพื้นที่และความลาดเท : เปนลูกคลื่นคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน คาความลาดเทอยู

                  ระหวาง 2-12 เปอรเซ็นต

                          1.5 การระบายน้ําของดิน : ดีถึงคอนขางดีเกินไป


                          1.6 พืชพรรณและการใชประโยชน : ปลูกพืชไร และไมยืนตน และยังคงสภาพเปนปาพลวงเต็งรัง
                  และทุงหญาธรรมชาติ สําหรับพื้นที่โครงการชลประทานในแตละจังหวัด ซึ่งพบกลุมชุดดินที่ 44 แสดงไวใน

                  ตารางที่ 44.2


                  ตารางที่ 44.2 พื้นที่โครงการชลประทาน และความจุของอางเก็บน้ําในจังหวัดที่พบกลุมชุดดินที่ 44

                                                          พื้นที่ชลประทาน   ความจุ   โครงการขนาด   โครงการ
                         ภาค         เขต   จังหวัด
                                                                                3
                                                               (ไร)      (ลาน ม. )   ใหญและกลาง  ขนาดเล็ก
                   กลาง               1    ชัยนาท            900,567           0          7           5
                                           ลพบุรี            343,750        48.8         14           12

                                           สุพรรณบุรี       1,288,470      294.9          8           4
                   ตะวันออก           2    ปราจีนบุรี        454,235         4.4         10           1

                                           สระแกว            56,180        83.7         10           0
                   ตะวันออกเฉียงเหนือ 3    ชัยภูมิ           131,120       108.7         13           3
                                           นครราชสีมา        651,744      1,166.2        43           5

                                           สุรินทร          115,785       132.2         21           3
                                      4    อุบลราชธานี       208,830        79.7         13           0

                                           นครพนม             48,035        46.1         14           3
                                           ศรีสะเกษ           73,140       123.7         12           4

                                           รอยเอ็ด          282,142        56.9         14           5
                                           มุกดาหาร           35,825        54.6          8           2

                                           ยโสธร              18,600        38.8          2           2
                                           อํานาจเจริญ        18,884        21.5          3           4
                                      5    ขอนแกน           306,135        67.5         20           2

                                           หนองคาย            95,090        26.3          9           3
                                           อุดรธานี          125,107       149.1         19           5

                                           มหาสารคาม          91,780        75.4         19           5
                                           สกลนคร            346,170       610.5         38           1
                                           กาฬสินธุ         387,391      1,423.3        20           2
   414   415   416   417   418   419   420   421   422   423   424