Page 413 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 413

399



                          8.3 การเตรียมดินสําหรับปลูกไมผล และไมยืนตน

                         8.3.1 เงาะ  ไถพรวนปรับพื้นที่ใหลาดเทเล็กนอย ทําหลุมปลูกขนาด 50X50X50 ซม. ผสมดินปลูก

                  ดวยปุยหินฟอสเฟต 200-300 กรัม/หลุม และปุยคอกแหงประมาณ 2  บุงกี๋ กลบลงในหลุมใหสูงกวาระดับ

                  ขอบหลุม 20-25 ซม.

                         8.3.2 ทุเรียน  พื้นที่ซึ่งไมเคยปลูกไมยืนตนมากอน  ถาเปนที่ดอนสูง ผิวคอนขางเรียบมักไมมี

                  ปญหาน้ําทวมขัง แตถาที่ดอนผิวไมเรียบควรไถปรับพื้นที่ใหลาดเทเล็กนอย และขุดรองระบายน้ําภายใน

                  สวน หากเปนพื้นที่ซึ่งเคยปลูกไมยืนตนมากอนและเปนดินรวน ความอุดมสมบูรณสูง ระบายน้ําไดดี ตอไมผุ

                  สลายงาย สามารถวางผังปลูกทุเรียนไดโดยไมตองไถพรวน แตถามีตอไมเดิมที่สลายตัวยาก ตองไถพรวน
                  จากนั้นจึงวางผังปลูกทุเรียน


                         8.3.3 มังคุด  ไถพรวนปรับพื้นที่ใหเรียบ ขุดรองระบายน้ําหากมีปญหาน้ําทวมขัง สวนพื้นที่เคย

                  ปลูกไมยืนตนมากอนไมตองไถพรวน สวนระยะปลูกในระบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือสามเหลี่ยมดานเทาควรใช

                  ระยะปลูกระหวางแถวและตน 8x8 หรือ 10x10 เมตร ถาปลูกแบบแถวกวางตนชิดใชระยะปลูกระหวางแถว
                  และตน 10x5 เมตร ขนาดหลุมปลูก 50x50x50 ซม. ผสมดินปลูกดวยหญาแหง ปุยคอกและปุยเคมี ตากดิน

                  ไวจนดินยุบตัวคงที่ เติมดินผสมลงไปอีกจนเต็มหลุม นําตนมังคุดมาปลูก และหาหลักผูกติดกับตนกันการ

                  โยกคลอน

                  9. การใชปุยสําหรับปลูกพืชชนิดตางๆ

                          9.1 การใชปุยสําหรับปลูกพืชไร


                         ใชปุยเคมีเพื่อรักษาความอุดมสมบูรณของดินและเพิ่มผลผลิตพืชไรที่ปลูก สําหรับ อัตราการใช

                  และวิธีการใสปุยพอกลาวสรุปตามผลการวิเคราะหดินที่แสดงไวในตารางที่ 43.5

                         9.1.1 ถั่วตางๆ  หากเปนพื้นที่ที่ไมเคยปลูกชนิดถั่วที่จะปลูกมากอน หรือเคยปลูกแตนานแลวตอง

                  แนะนําใหคลุกเมล็ดถั่วกับเชื้อไรโซเบียมที่เหมาะสมตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตรพรอมปลูก สวน

                  ปุยเคมีที่เหมาะสมกับถั่วดังกลาว เชน ถั่วเขียว ถั่วเหลือง และถั่วลิสงนั้น ทุกชุดดินที่มีรายงานผลการ
                  วิเคราะหตามตารางที่ 43.5 นั้น ไดแก ปุยสูตร 12-24-12 อัตรา 25 กก./ไร ใสครั้งเดียวหลังปลูกแลว

                  1-3 สัปดาห โดยใสขางแถวปลูกแลวพรวนกลบ


                         9.1.2 ขาวโพดและขาวฟาง  ปุยเคมีแบงใส 2 ครั้งเทาๆ กัน ครั้งแรกใสรองกนหลุมพรอมปลูก ครั้ง

                  ที่สองใสปุยสวนที่เหลือทั้งหมดขางแถวปลูกแลวพรวนกลบที่อายุ 3-4 สัปดาห
                         ก) ชุดดินดงตะเคียน บาเจาะ พัทยา ไมขาว ระยอง และหลังสวน ใชปุยสูตร 16-16-8 อัตรา

                  75 กก./ไร
   408   409   410   411   412   413   414   415   416   417   418