Page 411 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 411

397



                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช

                         เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 43 มีศักยภาพไมคอยเหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจทั่วๆ ไป ดังนั้นหาก

                  จะนํามาใชในการเกษตร ควรมีการจัดการที่ดินใหถูกตอง  สําหรับปญหาและขอจํากัดของกลุมชุดดินนี้ใน

                  การปลูกพืช ไดแก

                          5.1 สมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน   เนื่องจากกลุมชุดดินนี้มีเนื้อดินเปนดินทรายจัดและ

                  ปริมาณอินทรียวัตถุต่ํา ทําใหดินอุมน้ําไดนอย หากฝนทิ้งชวงนานอาจทําใหพืชขาดน้ํา นอกจากนั้นดินยังมี

                  ความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารไดนอยดวย

                          5.2 ความอุดมสมบูรณของดิน   จากการประเมินความอุดมสมบูรณของดินพบวากลุมชุดดินนี้มี

                  ความอุดมสมบูรณต่ํา พืชมีโอกาสขาดธาตุอาหารหลายธาตุ


                          5.3 การชะลางพังทลายของดิน  เนื่องจากเปนดินทรายจัด ทําใหเกิดการชะลางพังทลายของหนา

                  ดินไดงาย

                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                         การจัดการดินใหเหมาะสมในการปลูกพืชนั้น ควรพิจารณาขอจํากัดตางๆ แลวเลือกระบบการใชให

                  สอดคลองกับศักยภาพของดิน ดังนี้

                          6.1 เลือกชนิดของพืชใหเหมาะสมกับสภาพดิน  กลุมชุดดินนี้มีเนื้อดินเปนดินทรายจัด  พื้นที่มี

                  ความลาดเทเล็กนอย การระบายน้ําดีถึงดีมากเกินไป ดังนั้นจึงมีศักยภาพเหมาะสมสําหรับปลูกมะพราว

                  มะมวงหิมพานต สับปะรด หรือพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว


                          6.2 ปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน  กลุมชุดดินนี้มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา  จึง
                  ควรใชปุยอินทรีย  เชน ปุยคอกหรือปุยหมัก เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน  ซึ่งจะชวยปรับปรุงดินดังนี้ 1) เพิ่ม

                  ธาตุอาหารพืชทั้งธาตุหลัก ธาตุรอง และจุลธาตุ โดยปลดปลอยใหพืชใชประโยชนอยางชาๆ  และ 2) ชวย

                  ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพ เคมี และชีวภาพของดินอีกดวย แตถาดินยังขาดแคลนธาตุใดอยูอีกก็ตองเสริม

                  โดยการใชปุยเคมีอยางเหมาะสม เพื่อใหเพียงพอตอการเจริญเติบโตของพืช

                          6.3 การจัดระบบการปลูกพืช  โดยเลือกระบบที่จะชวยเพิ่มผลผลิตพืช และทําใหดินมีผลิตภาพสูง

                  อยางยั่งยืน เชน 1) จัดระบบการปลูกพืชหมุนเวียน คือ ปลูกพืชตระกูลถั่วหมุนเวียนกับพืชหลัก 2) การปลูก

                  พืชแซม โดยใชพืชตระกูลถั่วปลูกเปนแถวหรือเปนแถบสลับกับแถวหรือแถบพืชหลักที่เปนพืชลมลุก การ
                  ปลูกพืชตระกูลถั่ว ระหวางแถวพืชยืนตนขณะที่พืชยืนตนยังเล็ก หรือ 3) ทําปุยพืชสด โดยปลูกพืชตระกูลถั่ว

                  กอนพืชหลัก 2-3 เดือน แลวไถกลบลงดินในระยะออกดอก ปลอยใหสลาย 2-3 สัปดาหจึงปลูกพืชหลัก


                          6.4 การจัดการเรื่องการอนุรักษดินและน้ํา บริเวณที่มีความลาดชัน ควรมีการอนุรักษดินและน้ํา

                  เปนพิเศษ เนื่องจากดินเปนทรายจัด  จึงงายตอการชะลางพังทลาย ควรปลูกพืชคลุมดิน หรือปลูกพืชขวาง
   406   407   408   409   410   411   412   413   414   415   416