Page 408 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 408

394



                  3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้ โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความลึก 0-30
                  ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973 (Soil

                  Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งผลของการประเมิน

                  สรุปไดดังตารางที่ 43.5

                  ตารางที่ 43.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน


                                          CEC         BS           OM        Avai.P    Exch.K     ระดับความ
                      ชุดดิน     pH
                                        cmol /kg      (%)          (%)       (mg/kg)   (mg/kg)   อุดมสมบูรณ
                                            c
                   ดงตะเคียน      -       1.50       38.67         0.47       4.30      9.00         ต่ํา
                   บาเจาะ       5.27      2.69       24.47         1.06       6.73      24.00        ต่ํา
                   พัทยา        4.95      2.00       48.65         1.04       2.90      28.33        ต่ํา

                   ไมขาว         -       2.39       23.33         0.87       4.23      12.20        ต่ํา
                   ระยอง          -       0.77       40.33         0.44       5.53      23.00        ต่ํา

                   สัตหีบ       5.30      1.40       41.05        00.56       5.65      50.00        ต่ํา
                   หลังสวน        -       2.64       39.07         0.96       3.59      28.03        ต่ํา

                   หัวหิน       5.52      2.40       50.00         0.71       9.20      42.00        ต่ํา
                   คามัธยฐาน   5.29      2.20       39.70         0.79       4.92      26.02        ต่ํา


                  สรุป : จากการประเมินความอุดมสมบูรณของชุดดินที่ 43 พบวาความอุดมสมบูรณต่ํา

                  4. ประเมินความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืช


                         กลุมชุดดินที่ 43 มีศักยภาพเหมาะสมสําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจบางประเภท เชน มะมวงหิมพานต

                  สับปะรด และพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว แตไมคอยเหมาะสมในการปลูกปาลมน้ํามัน มะพราว ไมผลทุก
                  ชนิด และพืชไร และไมเหมาะสมในการปลูกยางพารา กาแฟ โกโก กลวย และทํานา  เนื่องจากมีขอจํากัด

                  ทางกายภาพของดิน เพื่อใหเกษตรกรมีทางเลือกในการใชที่ดินตามศักยภาพ จึงจัดชั้นความเหมาะสมของ

                  ดินตามความลาดเทของพื้นที่ ดังตารางที่ 43.6
   403   404   405   406   407   408   409   410   411   412   413