Page 391 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 391

377




                  ตารางที่ 42.3 (ตอ) การแพรกระจายของกลุมชุดดินที่ 42 ในจังหวัดตางๆ

                           ภาค          เขตพัฒนาที่ดิน             จังหวัด                     เนื้อที่ (ไร)

                   ใต                        12                   นราธิวาส                   50,808.06

                                                                   ปตตานี                    43,038.64

                                                                   สงขลา                      79,167.76


                                                                   สตูล                        1,214.37
                                                  รวมทั้งสิ้น                                429,099.11



                    2. การจําแนกดิน

                         ชื่อชุดดิน(soil series)  และการจําแนกระดับวงศ(soil family) ในกลุมชุดดินที่ 42  ตามระบบ

                    อนุกรมวิธานดิน(soil taxonomy) แสดงไวในตารางที่ 42.4

                  ตารางที่ 42.4 การจําแนกดินระดับวงศดิน


                      ชุดดิน(soil series)   การจําแนกระดับวงศดิน ป 1975   การจําแนกระดับวงศดิน ป 1998

                   บานทอน               sandy , seliceous , cemented    sandy, siliceous, superactive,
                   (Ban Thon series: Bh)   Typic Tropohumods             isohyperthermic

                                                                         Ortstein Typic Haplorthods


                  3. ลักษณะของกลุมชุดดินและชุดดินในกลุมชุดดินที่ 42

                          3.1  ลักษณะของกลุมชุดดินที่ 42  มีเนื้อดินเปนทรายจัด สีดินบนเปนสีเทาแก ถัดลงไปเปนชั้นทรายสี

                  ขาวอยูเหนือชั้นที่มีการสะสมอินทรียวัตถุหรือฮิวมัส(spodic horizon) มีสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลแดง เปนชั้นที่
                  มีการอัดตัวแนนเปนชั้นดาน พบภายในความลึก 1 เมตร จากผิวดินบน เปนสวนใหญ ปฏิกิริยาดินเปนกรด

                  ปานกลางถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-6.0) ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํามาก


                          3.2 ลักษณะของชุดดินในกลุมชุดดินที่ 42

                         3.2.1 ชุดดินบานทอน (Ban Thon series: Bh)

                         จัดอยูใน sandy, siliceous, superactive, isohyperthermic Ortstein Typic Haplorthodsเกิด
                  จากพวกเนินทรายเกา หรือสันหาดเกา สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะคอนขางราบเรียบ ถึงลูกคลื่นลอนลาด มี

                  ความลาดชัน 1-3  เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ําดี จนถึงคอนขางมาก คาดวาดินมี

                  ความสามารถใหน้ําซึมผานเร็วในดินบน และชาในดินลาง โดยเฉพาะชั้นดินที่มีการสะสมพวกอินทรียวัตถุ

                  และธาตุเหล็ก มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินชาถึงปานกลาง ตามปกติแลวระดับน้ําใตดินอยูลึกกวา 1 เมตร
                  ในฤดูแลง สวนในฤดูฝนระดับน้ําใตดินจะขึ้นๆ ลงๆ ภายใน 1 เมตร
   386   387   388   389   390   391   392   393   394   395   396