Page 334 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 334

320



                  ความลาดชัน 1-2  เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึก  มีการระบายน้ําดี ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานปาน

                  กลางมีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลาง
                         ดินบนลึกประมาณ 15  ซม. มีเนื้อดินตางๆ กัน เชน ดินรวนเหนียว ดินรวนเหนียวปนทราย ดินรวน

                  ปนทราย ดินรวน หรือดินรวนปนทรายแปง สีพื้นเปนสีน้ําตาล หรือสีน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึง

                  ดางปานกลาง(pH 7.0-8.0) สวนดินลางมีสีพื้นเปนสีน้ําตาล อาจจะมีจุดประเล็กนอยในบางแหง ปฏิกิริยา

                  ดินเปนดางปานกลาง(pH 8.0)

                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน


                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ
                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ

                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973

                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ
                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 1.5


                 ตารางที่ 38.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน

                                            CEC         BS         OM        Avai.P    Exch.K    ระดับความ
                      ชุดดิน      pH
                                          cmol /kg       (%)     (%)       (mg/kg)     (mg/kg)   อุดมสมบูรณ
                                              c
                  ชุมพลบุรี        -        6.40      28.60      0.89        5.00       27.50        ต่ํา
                  เชียงใหม        -        11.20     67.33      0.46        3.70       2.30         ต่ํา

                  ดอนเจดีย      4.75       1.56      25.71      1.00        4.35       27.20        ต่ํา
                  ทามวง        6.20       12.02     81.50      2.20       28.75      172.50        สูง

                  ไทรงาม           -        7.25      55.50      1.72       26.90      194.50     ปานกลาง
                  คามัธยฐาน     5.48       7.25      55.50      1.59        5.00       27.50        ต่ํา


                  สรุป : จากการประเมินความอุดมสมบูรณของกลุมชุดดินที่ 38 พบวามีความอุดมสมบูรณอยูในระดับต่ําถึง

                        สูง

                  4. การประเมินความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืช


                         กลุมชุดดินที่ 38  มีความเหมาะสมในการปลูกพืชไร พืชผักและไมผลหลายชนิด  แตไมคอย
                  เหมาะสมถึงไมเหมาะสมในการทํานา  เนื่องจากสภาพพื้นที่ไมอํานวย อยางไรก็ตามเพื่อใหเกษตรกรมี

                  ทางเลือกในการใชที่ดินตามศักยภาพ จึงจัดชั้นความเหมาะสมออกเปน 3 อยาง คือ การเพาะปลูกในฤดูฝน

                  ฤดูแลง และหลังการพัฒนาที่ดินแลว ดังตารางที่ 38.6
   329   330   331   332   333   334   335   336   337   338   339