Page 333 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 333

319



                         3.2.2 ชุดดินชุมพลบุรี (Chumphon Buri series: Cph)

                         จัดอยูใน coarse-loamy, mixed, active, isohyperthermic Fluventic Dystrustepts เกิดจากการ
                  ตะกอนลําน้ําใหมที่ถูกน้ําพัดพามาทับถมบริเวณสวนต่ําของสันดินริมน้ํา(lower part of river lavee) สภาพ

                  พื้นที่ที่พบมีลักษณะคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 2-6 เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึกมาก มีการระบาย

                  น้ําดีปานกลาง คาดวาดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดปานกลาง มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินเร็ว

                  ตามปกติแลวระดับน้ําใตดินอยูลึกกวา 2 เมตรในฤดูแลง
                         ดินบนลึกไมเกิน 25 ซม.  มีเนื้อดินเปนดินรวน หรือดินรวนปนทราย หรือดินทรายปนดินรวน สีพื้น

                  เปนสีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดรุนแรงมาก(pH 4.5-5.5)  สวนดิน

                  ตอนลางเปนดินรวนปนทราย หรือดินรวนปนทรายแปงรวน สีพื้นเปนสีน้ําตาลปนเหลือง หรือเปนสีน้ําตาล

                  เขม อาจพบจุดประสีน้ําตาลแกบางเล็กนอยในสวนลางของดินชั้นลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรด
                  รุนแรงมาก(pH 4.5-5.0)


                         3.2.3 ชุดดินดอนเจดีย (Don Chedi series: Dc)
                         จัดอยูใน coarse-loamy, mixed, active, isohyperthermic Typic Dystrustepts เกิดจากตะกอน

                  ลําน้ําตามสันดินริมน้ําเกา มีความลาดชันประมาณ 2  เปอรเซ็นต มีการระบายน้ําดี น้ําซึมผานปานกลาง

                  และมีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลาง

                         ดินบนลึกไมเกิน 30  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหยาบ มีสีพื้นเปนสีน้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดิน

                  เปนกรดจัด(pH 5.5)  ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหยาบ หรือดินรวนเหนียวปนทราย มีสีพื้นเปนสี
                  น้ําตาลแก หรือสีเหลืองปนสีแดง มีปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมาก(pH 4.5)


                         3.2.4 ชุดดินไทรงาม (Sai Ngam series: Sg)
                         จัดอยูใน coarse-loamy, mixed, semiactive, isohyperthermic Ultic Haplustalfs เกิดจากการ

                  ทับถมของตะกอนลําน้ํากลางเกากลางใหม สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2

                  เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ําดี ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดเร็ว มีการไหลบา

                  ของน้ําบนผิวดินชา ระดับน้ําใตดินอยูต่ํากวา 1.25 เมตรตลอดป ดินอุมน้ําไดคอนขางต่ํา

                         ดินบนหนาประมาณ 20  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย หรือดินรวน ดินมีสีเขมของน้ําตาลปน
                  เทา หรือสีน้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงกรดปานกลาง(pH 6.0-6.5) สวนดินลางมีเนื้อดินเปน

                  ดินรวนปนทราย หรือดินรวนเหนียวปนทราย สีน้ําตาล สีน้ําตาลเขม หรือสีเขมของน้ําตาลปนเหลือง

                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-6.0)  จะพบแรไมกาเกล็ดเล็กๆ ปะปนอยูในเนื้อดิน
                  และจะมีมากขึ้นในดินลาง


                         3.2.5 ชุดดินทามวง (Tha Muang series: Tm)

                         จัดอยูใน coarse-loamy, mixed, active, calcareous, Typic Ustifluvents เกิดจากการทับถมของ
                  ตะกอนใหมบนสันดินริมฝงน้ํา ในบริเวณที่ราบน้ําทวมถึงสภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะคอนขางราบเรียบ  มี
   328   329   330   331   332   333   334   335   336   337   338