Page 283 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 283

269



                  หรือเปนดินเหนียวปนทรายสีพื้นเปนสีแดงปนเหลืองหรือสีน้ําตาลปนแดงปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัด

                  มาก(pH 5.0-5.5)

                         3.2.7 ชุดดินยโสธร (Yasothon series : Yt)

                         จัดอยูใน fine-loamy,  siliceous,  semiactive,  isohyperthermic, Typic Paleustults  เกิดจาก

                  ตะกอนลําน้ําเกาบนลานตะพักลําน้ําระดับสูง สภาพพื้นที่ที่มีลักษณะลูกคลื่นลอนลาดถึงลอนชันเล็กนอย มี
                  ความลาดชัน 4-7 เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ําดี คาดวาดินมีความสามารถใหน้ําซึม

                  ผานเร็ว มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลาง

                         ดินบนลึกไมเกิน 15 ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย สีพื้นเปนสีน้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรด

                  เล็กนอยถึงกรดปานกลาง(pH 6.0-6.5) ดินบนตอนลางลึกประมาณ 15-30 ซม. เนื้อดินเปนดินรวนปนทราย
                  สีพื้นเปนสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-5.5)  สวนดินตอนลางความลึก

                  ตั้งแต 30  ซม.ลงไป มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทราย สีพื้นเปนสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรด

                  รุนแรงมาก(pH 4.5-5.5)

                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน


                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ
                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ

                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973

                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ
                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 35.5


                  ตารางที่ 35.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน

                                             CEC        BS          OM        Avai.P   Exch.K    ระดับความ
                      ชุดดิน      pH
                                           cmol /kg       (%)      (%)      (mg/kg)    (mg/kg)   อุดมสมบูรณ
                                               c
                   โคราช         5.30        2.20      57.50       0.53      5.15       39.00        ต่ํา

                   ดอนไร        5.10        3.26      36.68       1.07      13.35      24.00        ต่ํา
                   ดานซาย        -         4.98      22.59       1.94      9.13       58.00        ต่ํา
                   มาบบอน        5.30        1.34      49.00       0.75      10.00      64.00        ต่ํา

                   ยโสธร         5.10        1.95      48.68       0.63      5.50       27.15        ต่ํา
                   วาริน         5.00        4.02      33.63       0.67      5.00       38.30        ต่ํา

                   สตึก          5.20        2.15      43.05       0.74      4.40       73.65        ต่ํา
                   คามัธยฐาน    5.15        2.20      43.05       0.74      5.50       39.00        ต่ํา
   278   279   280   281   282   283   284   285   286   287   288