Page 272 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 272

258



                  บางชนิดแซมระหวางแถวของไมยืนตนและไมผลในชวงที่พืชหลักยังเล็ก สําหรับการจัดการดินเพื่อใหเหมาะ

                  กับพืชแตละประเภทมี ดังนี้

                          10.1 ไมยืนตน  ที่ปลูก ไดแก ยางพารา ปาลม มะพราว มะมวงหิมพานต กาแฟ โกโก  และสะตอ

                  สําหรับการจัดการควรเนนในเรื่องตอไปนี้ คือ 1) บํารุงดินดวยปุยอินทรีย  เพื่อปรับปรุงสมบัติของดินทาง

                  กายภาพ เคมีและชีวภาพ และใชปุยเคมีเสริมธาตุอาหารที่ยังขาดแคลน  และ 2) ในพื้นที่ซึ่งมีความลาดชัน

                  สูง ควรอนุรักษดินและน้ําดวยวิธีการทางพืช เชน ปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชตามแนวระดับ หรือปลูกพืชขวาง
                  ความลาดเท เปนตน  สวนการทําคันคูรับน้ํารอบเขา หรือการสรางขั้นบันไดดิน จะไมไดผลเนื่องจากเนื้อดิน

                  เปนทราย


                          10.2 ไมผล  ที่นิยมปลูกในกลุมดินนี้ ไดแก เงาะ ทุเรียน มังคุด ลางสาด ลองกอง ขนุน จําปาดะ และ

                  สม พืชเหลานี้ตองมีการจัดการดังนี้ คือ 1) ใชปุยใหถูกตองและเหมาะสมทั้งปุยอินทรียและปุยเคมี เพื่อใหได
                  ผลผลิตสูงและคุณภาพดี 2) จัดหาแหลงน้ําใหเพียงพอตอความตองการของพืชในระยะฝนทิ้งชวงและฤดู

                  แลง 3) การดูแลไมผลในดานอื่นๆ เชน การตัดแตงกิ่งและการบริหารศัตรูพืชแบบผสมผสาน และ 4) การ

                  อนุรักษดินและน้ําอยางเหมาะสมในพื้นที่ซึ่งมีความลาดชันสูง

                          10.3 พืชไรหรือพืชสวนบางชนิด  พืชที่ปลูกมักเปนพืชแซมระหวางแถวพืชหลัก เชน ถั่วลิสง

                  สับปะรด ขาวโพดหวานและกลวย พืชเหลานี้ชวยเสริมรายไดในชวงที่พืชหลักไมใหผลผลิต นอกจากนี้พืช

                  ตระกูลถั่วที่ปลูกแซมยังชวยบํารุงดินอีกดวย

                          10.4 ทุงหญาเลี้ยงสัตว   การจัดการทุงหญาตองมีระบบที่ดี เหมาะสมกับชนิดของหญาแตละ

                  ประเภท การปลูกหญารวมกับพืชตระกูลถั่วก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่ใหผลดีมาก ทั้งยังชวยเพิ่มคุณภาพของอาหาร

                  สัตวอีกดวย

                         ปญหาของการใชประโยชนกลุมชุดดินนี้ ไดแก ความอุดมสมบูรณของดินต่ําและสมบัติทาง

                  กายภาพของดินไมเหมาะสม  เชน เนื้อดินคอนขางเปนทรายและความสามารถในการอุมน้ําต่ํา นอกจากนี้

                  ยังมีการชะลางพังทลายอยางรุนแรงในบริเวณมีความลาดชันสูง วิธีหนึ่งที่ชวยในการอนุรักษดินและน้ํา คือ

                  นําเศษวัสดุเกษตรที่เหลือใช เชน ทะลายปาลมน้ํามัน เปลือกกาแฟ และขุยมะพราวมาคลุมดิน นอกจากนั้น
                  ยังควรพัฒนาแหลงน้ําใหเพียงพอกับความตองการในระยะที่ฝนทิ้งชวงและฤดูแลง
   267   268   269   270   271   272   273   274   275   276   277