Page 271 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 271

257



                          9.2 การใชปุยสําหรับพืชผัก

                         9.2.1 กวางตุง  หลังถอนแยก ใชปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 30 และ 10 กก./ไร

                  ตามลําดับ

                         9.2.2 ถั่วฝกยาว  ในพื้นที่เคยเกิดโรคเหี่ยวมากอน ควรรองกนหลุมกอนปลูกดวยปุยอินทรียที่ยอย

                  สลายแลว อัตรา 2,000-4,000 กก./ไร และปุยสูตร 12-24-12 อัตรา 40 กก./ไร และเมื่อถั่วฝกยาวเริ่มออก

                  ดอก ใชปุยสูตร 12-24-12 อัตรา 20 กก./ไร โดยใสสองขางแถวปลูกแลวพรวนดินกลบ


                         9.2.3 ผักกาดขาวปลี  หลังปลูกประมาณ 7 วัน ควรใหปุยคอก อัตรา 3-4 กก./ตร.ม. ผสมกับปุย
                  สูตร 15-15-15 อัตรา 30 กก./ไร และหลังจากปลูกไดประมาณ 15 วัน ควรใชปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 20 กก./ไร


                  โดยหวานใหทั่วแปลงปลูก

                          9.3 การใชปุยสําหรับไมผล และไมยืนตน


                         9.3.1 เงาะ  ระยะหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 2.5 กก./ตน รวมดวยปุยอินทรีย

                  2-3 ปบ โดยใสรอบทรงพุม ระยะกอนออกดอกใชปุยสูตร 8-24-24 อัตรา 2 กก./ตน ระยะติดผลใชปุยสูตร
                  15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน และกอนเก็บเกี่ยวผลผลิต 1 เดือน ใชปุยสูตร 12-12-17อัตรา 1 กก./ตน โดย

                  หวานใหทั่วบริเวณทรงพุมแลวใชคราดกลบบางๆ หลังรดน้ํา


                         9.3.2 ปาลมน้ํามัน  การใหปุยปาลมน้ํามันสําหรับกลุมชุดดินที่ 34 แนะนําใหใสปุยยูเรีย 3 กก./ตน
                  รวมกับปุยไดแอมโมเนียมฟอสเฟต 2 กก./ตน, ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 4 กก./ตน, คีเซอรไรด 1 กก./ตน

                  และโบเรต 90 กรัม/ตน โดยแบงใสยูเรีย, โพแทสเซียมคลอไรด และคีเซอรไรด ใสสองครั้งๆ ละเทาๆ กัน

                  ในชวงตน และปลายฤดูฝน สวนไดแอมโมเนียมฟอสเฟต และโบเรต ใสครั้งเดียวชวงตนฤดูฝน

                         9.3.3 ยางพารา  ยางพารากอนเปดกรีดแบงการใหปุยออกเปน 2 ระยะ คือ 1) ปุยรองกนหลุม ใช

                  ปุยหินฟอสเฟต(0-3-0) อัตรา 170 กรัม/หลุม รวมกับการใชปุยอินทรียในอัตรา 5 กก./ตน/ป ในชวงปแรก

                  และในชวงปที่ 2 ถึง 6 ใหใชปุยอินทรียในอัตรา 2 กก./ตน/ป 2) ปุยบํารุง แนะนําใหใชปุยสูตร 20-8-20 ใน

                  อัตราแตกตางกันตามอายุ คือ ใชในอัตรา 410 กรัม/ตน/ป ในปที่ 1 และใชในอัตรา 620, 640, 660, 720

                  และ 740 กรัม/ตน/ป ในปที่ 2, 3, 4, 5 และ 6 ตามลําดับ

                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินนี้มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย  ดินลึก การระบายน้ําดี ความอุดมสมบูรณต่ําและ

                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก(pH 4.5-5.5) พบในสภาพภูมิประเทศตั้งแตคอนขางราบเรียบถึงภูเขา

                         ปจจุบันเกษตรกรใชพื้นที่ในการปลูกพืชเศรษฐกิจตางๆ เชน ยางพารา  ปาลมน้ํามัน มะพราว และ

                  ไมผลหลายชนิด ไดแก ทุเรียน เงาะและมังคุด ในบางพื้นที่มีการปลูกพืชไรและพืชสวนประเภทพืชลมลุก
   266   267   268   269   270   271   272   273   274   275   276