Page 72 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 72

C horizons or layers: เปนชั้นที่มีกระบวนการทางปฐพีเกิดขึ้นเพียงเล็กนอยหรือไมมีเลย และ

                  ไมมีสมบัติหรือลักษณะของชั้น O A E หรือ B   วัสดุของชั้น C อาจเหมือนหรือไมเหมือนกับดินที่เกิดขึ้น
                  ตอนบนเลยก็ได


                         R layers: หมายถึง ชั้นหินแข็ง ไดแก หินแกรนิต บะซอลท ควอรตไซต หินปูนแข็ง หินทราย เปนตน


                  4. ความลาดชันของพื้นที่

                         ความลาดชันของพื้นที่ หมายถึง ลักษณะของพื้นที่ที่เบี่ยงเบนหรือเอียงไปจากแนวราบหรือแนว

                  ระนาบ  มีหนวยวัดเปนองศาของมุมเอียง รอยละของความเอียง หรือสัดสวนของระยะในแนวตั้งกับ
                  แนวนอน สําหรับหนวยที่ใชในการศึกษาดิน สํารวจดินและทําแผนที่ดินของประเทศไทยเปนรอยละของ

                  ความเอียงหรือเปอรเซ็นต

                         สภาพพื้นที่ในเอกสารนี้จะอธิบายถึงความลาดชันเชิงซอน (complex  slope)  ซึ่งแสดงถึง
                  ภาพรวมของพื้นที่ สําหรับการแบงชั้นความลาดชันของพื้นที่ในประเทศไทยไดมีการปรับปรุงให

                  สอดคลองและเหมาะสมกับ สภาพพื้นที่ แนวทางการใชประโยชนที่ดินละการจัดการดิน โดยแบง

                  ออกเปน 8 ชั้นดังนี้

                                   ความลาดชัน (%)                      ความลาดชันเชิงซอน

                                        0-2                         ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ
                                        2-5                         ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย

                                        5-12                        ลูกคลื่นลอนลาด

                                        12-20                       ลูกคลื่นลอนชัน

                                        20-35                       เนินเขา

                                        35-50                       สูงชัน
                                        50-75                       สูงชันมาก

                                        ชันกวา 75                  สูงชันมากที่สุด




                  5. ความลึกของดิน

                         ความลึกของดินที่ใชอธิบายถึงลักษณะและสมบัติของดินหมายถึงความหนาของดินจากชั้นผิวดิน

                  ถึงชั้นที่มีสมบัติขัดขวางตอการเจริญเติบโตหรือการชอนไชของรากพืช ไดแก แนวสัมผัสของชั้นหินพื้นแข็ง

                  แนวสัมผัสของชั้นหินพื้นออน ชั้นเชื่อมแข็งของอินทรียวัตถุและอะลูมินัมหรือชั้นดานอินทรีย แนวสัมผัส

                  ของชั้นที่เชื่อมตัวกันแข็งของเหล็ก ชั้นดาน และชั้นที่เชื่อมตัวแข็งอื่นๆ รวมถึงชั้นเศษหิน กรวด ลูกรัง และ
                  สารมวลพอกตางๆ ที่มีขนาด 2 มิลลิเมตรหรือโตกวาในปริมาณมากกวา 35 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร






                                                                                                       64
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76