Page 55 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคกลางของประเทศไทย
P. 55

45   ชุดดินทายาง (Tha Yang: Ty)



                                  กลุมชุดดินที่    48

                                  การจําแนกดิน      Loamy-skeletal, siliceous, isohyperthermic Kanhaplic Haplustults
                                  การกําเนิด        เกิดจาการผุพังสลายตัวอยูกับที่  และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทาง

                                                    ใกลๆ โดยแรงโนมถวงของโลกของหินทรายและหินควอรตไซท โดยมีหิน
                                                    ดินดานและหินฟลไลทแทรกอยู

                                  สภาพพื้นที่       ลูกคลื่นลอนลาดถึงเปนเนินเขา มีความลาดชัน 2-35 %

                                  การระบายน้ํา                   ดี
                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ชา

                                  สภาพใหซึมไดของน้ํา           ปานกลางถึงเร็ว
                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  ปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง ปลูกพืชไร เชน

                                                    มันสําปะหลัง และออย

                                  การแพรกระจาย           พบอยูทั่วไป  ยกเวนในภาคใต
                                  การจัดเรียงชั้นดิน      A-B-Bt-BC

                                  ลักษณะและสมบัติดิน      เปนดินตื้นถึงชั้นกรวด  ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน  มี
               กรวดและเศษหินกอนหินปนอยูตอนบนประมาณ 15-34 %โดยปริมาตร  สีน้ําตาลปนเทาถึงสีน้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดินเปน

               กรดจัดถึงกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5)  ดินบนตอนลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย ดินรวนปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปน

               ทรายปนกรวดและเศษหินมีปริมาณมากกวา 35 %โดยปริมาตร เพิ่มขึ้นตามความลึก จะพบชั้นดินปนกรวดปนเศษหินนี้
               ตื้นกวา 50 ซม.  จากผิวดิน  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดเล็กนอยถึงกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0 )  ดินลางตอนลางเปน

               ชั้นเศษหินกรวดของหินทราย

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ

                 (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                 0-25         สูง           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                 25-50        สูง           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

                50-100     ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน           ชุดดินลาดหญา  ชุดดินระนอง  ชุดดินมวกเหล็ก  และชุดดินแมริม
               ขอจํากัดการใชประโยชน         เปนดินตื้นมีเศษหินมาก  มีความลาดชันสูง ขาดแคลนน้ํา

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน      ไมเหมาะที่จะนํามาใชในการเกษตร  ควรปลอยไวเปนปาธรรมชาติเพื่อเปนแหลง
               ตนน้ําลําธาร







                                                                                                            47
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60