Page 50 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคกลางของประเทศไทย
P. 50

40   ชุดดินธัญบุรี (Thanya Buri: Tan)



                                  กลุมชุดดินที่  11

                                  การจําแนกดิน  Very-fine, mixed, semiactive, acid, isohyperthermic Sulfic Endoaquepts
                                  การกําเนิด    ตะกอนน้ําทะเลผสมกับตะกอนน้ําพา  และมีอิทธิพลของน้ําทะเลในบางชวง

                                                            ของรอบป
                                  สภาพพื้นที่   ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-1 %

                                  การระบายน้ํา                 เลว

                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชา
                                  สภาพซึมผานไดของน้ํา        ชา

                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  สวนใหญใชทํานาหวาน
                                  การแพรกระจาย        บริเวณที่ราบน้ําทะเลเคยทวมถึง  หรือที่ราบลุมแมน้ําที่ขึ้นมาจาก

                                                                   ที่ราบน้ําทะเลทวมถึงในเขตที่ราบภาคกลาง

                                  การจัดเรียงชั้นดิน   Apg-Bg-Bjg-BCg-Cg
                                  ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึก ดินบน เปนดินเหนียว สีดํา มีจุดประสีน้ําตาลแกและสีแดง

                                  ปนเหลือง ในฤดูแลงหนาดินจะแตกระแหงเปนรองกวางและลึก ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมากถึง
              กรดจัดมาก (pH 4.0-5.0) ดินบนตอนลางมีสีน้ําตาลปนเทาหรือสีเทาปนน้ําตาล มีจุดประสีเหลืองปนน้ําตาลและเหลืองปน

              แดง  ที่ระดับความลึกตั้งแต 50-100  ซม.  จะพบจุดประสีเหลืองฟางขาว  และพบรอยไถลและหนาอัดมัน  ปฏิกิริยาดินเปน

              กรดรุนแรงมากที่สุดถึงกรดรุนแรงมาก (pH 3.5-4.0)  ดินลางตอนลางที่ลึกลงไปพบลักษณะของดินเลนสีเทา  ปฏิกิริยาดิน
              เปนกรดจัดมาก (pH 4.5)


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                 (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                 0-25         สูง           สูง         ปานกลาง        ปานกลาง          สูง           สูง

                 25-50        ต่ํา          สูง         ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                50-100        ต่ํา          สูง         ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินรังสิต  ชุดดินองครักษ  ชุดดินเสนา  ชุดดินอยุธยา  และชุดดินมหาโพธิ

               ขอจํากัดการใชประโยชน       น้ําทวมลึก 1 เมตร นาน 4-5 เดือน ใชทํานาหวานไดเพียงอยางเดียว แตผลผลิตต่ํา
               ดินเปนกรดจัดมาก  ธาตุอาหารพืชบางชนิดถูกตรึงไว  และบางชนิดจะละลายออกมามากเกินไปจนเปนพิษตอพืช

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ทํานา   ตองปรับสภาพกรดของดินใหลดลง  เชน  การใสปูนมารลแลวไถคลุกเคลา
               กันทิ้งไวจนถึงฤดูเพาะปลูก  ควรปรับปรุงบํารุงดิน  โดยการใสปุยอินทรียและปุยเคมี  ควบคูกันเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติทั้ง

               ทางกายภาพและทางเคมีของดินใหดีขึ้น






                                                                                                            42
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55