Page 18 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 18

9





                             ยางพาราอายุ 9-13  ป  (พันธุRRIM600)   เกษตรกรหัวหนาครอบครัวมีอายุเฉลี่ย 48.13 ป

                  นับถือศาสนาพุทธทั้งหมด  ระดับการศึกษาของหัวหนาครอบครัว  รอยละ 87.50  จบการศึกษาระดับชั้น
                  ประถมศึกษา มีเพียงรอยละ 12.50 เทานั้น ที่จบการศึกษาในระดับสูงกวาชั้นมัธยมศึกษา จํานวนสมาชิก

                  ในครอบครัวเฉลี่ยครอบครัวละ 5.25 คน ทําการเกษตรในครอบครัวเพียงอยางเดียวเฉลี่ยครอบครัวละ 2.25 คน

                  รองลงมาเปนการทําการเกษตรในครอบครัวและรับจางทางการเกษตรเฉลี่ยครอบครัวละ 0.13 คน ทําการเกษตร

                  ในครอบครัวและรับจางนอกการเกษตรเฉลี่ยครอบครัวละ 0.75คน นอกจากนี้ประกอบอาชีพอื่นๆ  เชน
                  รับเหมากอสราง  ลูกจางในหนวยงานราชการเปนตนและไมไดทํางานเนื่องจากเปนเด็กเล็ก   เรียนหนังสือ

                  และเปนคนชรา  หัวหนาครอบครัวเกษตรรอยละ 87.50  เปนสมาชิกสถาบันการเกษตรไดแก  ธนาคารเพื่อ

                  การเกษตรและสหกรณเพียงสถาบันเดียว  จุดประสงคเพื่อตองการกูยืมเงินทุนมาใชในการประกอบอาชีพ
                  ของตนเอง เกษตรกรถือครองที่ดินเฉลี่ยครอบครัวละ 17.25 ไร เปนที่ดินของตนเองทั้งหมด ใชในการปลูก

                  ยางพารา หนังสือสําคัญในที่ดินของตนเองเปน ภ.บ.ท.5 และ6 เฉลี่ยครอบครัวละ 8.50 ไร รองลงมาเปน

                  น.ส.3 เฉลี่ยครอบครัวละ 5.81 ไร เปน น.ส.3ก และ ส.ค.1 เฉลี่ยครอบครัวละ 2.53 ไร และ 0.03 ไร ตามลําดับ
                  สําหรับปญหาในการครองชีพ  เกษตรกรสวนใหญมีปญหาสุขภาพไมดีรอยละ 87.50  และปญหาจาก

                  คาครองชีพที่สูงขึ้นรอยละ 12.50


                             ยางพาราอายุ 25 ปขึ้นไป (พันธุRRIM600)  เกษตรกรหัวหนาครอบครัวมีอายุเฉลี่ย 57.83 ป
                  นับถือศาสนาพุทธทั้งหมด ระดับการศึกษาของหัวหนาครอบครัวจบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาทั้งหมด

                  มีจํานวนสมาชิกในครอบครัวเฉลี่ยครอบครัวละ 4.58  ทําการเกษตรในครอบครัวเพียงอยางเดียวเฉลี่ย

                  ครอบครัวละ 1.58 คน  ทําการเกษตรในครอบครัวและรับจางทางการเกษตรเฉลี่ยครอบครัวละ 0.50 คน

                  ทําการเกษตรในครอบครัวและรับจางนอกการเกษตรเฉลี่ยครอบครัวละ 0.42 คน ประกอบอาชีพอื่นๆ เชน
                  รับเหมากอสราง  ลูกจางในหนวยงานราชการ เฉลี่ยครอบครัวละ 0.08  คน  นอกนั้นไมไดทํางานเนื่องจาก

                  เปนเด็กเล็ก  เรียนหนังสือ    เปนคนชราและพิการ  รอยละ 83.33  ของหัวหนาครอบครัวเกษตรกรเปน

                  สมาชิกสถาบันการเกษตรโดยเปนสมาชิกเพียงสองสถาบัน  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ  มีเกษตรกร
                  เขาเปนสมาชิกมากที่สุด  รองลงมาไดแกสหกรณการเกษตร ประโยชนที่ไดรับเปนเรื่องของเงินทุนและ

                  การจัดหาวัสดุการเกษตร  เกษตรกรถือครองที่ดินเฉลี่ยครอบครัวละ 14.77 ไร เปนที่ดินของตนเองเฉลี่ย

                  ครอบครัวละ 13.90 ไร ที่เขาทําเปลาเฉลี่ยครอบครัวละ 0.87 ไร หนังสือสําคัญในที่ดินของตนเอง เปน
                  ส.ป.ก. เฉลี่ยครอบครัวละ 4.68 ไร รองลงมาเปน น.ส.3 เฉลี่ยครอบครัวละ 3.94 ไร เปน น.ส.3ก และ

                  ภ.บ.ท. 5และ6 เฉลี่ยครอบครัวละ 3.15 ไร และ 2.13 ไร ตามลําดับ เกษตรกรรอยละ 83.33 ของจํานวน

                  เกษตรที่ปลูกยางพารามีปญหาในการครองชีพ   ที่พบไดทุกครัวเรือนไดแกปญหารายไดไมพอรายจาย
                  รองลงมาไดแกปญหาจากการขาดแคลนน้ําเพื่ออุปโภคบริโภค


                             ปาลมน้ํามันอายุ 25  ปขึ้นไป (พันธุTENERA)     เกษตรกรหัวหนาครอบครัวมีอายุเฉลี่ย

                  ครอบครัวละ 46.00  ป  นับถือศาสนาอิสลามทั้งหมด  ระดับการศึกษาของหัวหนาครอบครัวจบการศึกษา
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23