Page 41 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 41

3-5



                     ขึ้นอยูกับพอคาและตลาดเปนผูกําหนดราคา  เมื่อใดก็ตามที่ผลผลิตที่ไดมีนอยกวาความตองการของ

                     ตลาด  ราคาผลผลิตจะสูงขึ้น  และเมื่อใดที่ผลผลิตที่ไดมีมากกวาความตองการของตลาด  ราคาผล

                     ผลิตที่ไดจะต่ําลง  ซึ่งจะเปนปญหาสําคัญที่สุดของเกษตรกรที่ไมสามารถควบคุมการผลิตได  รองลงมา  ได

                     แก ปญหาจากศัตรูพืชรบกวนรอยละ 18.80 ปญหาจากปจจัยการผลิตมีราคาสูงรอยละ 17.66 ปญหา

                     จากการขาดแหลงน้ําเพื่อการเกษตรรอยละ 7.98  ปญหาจากน้ําทวมและขาดเงินทุนรอยละ 2.85  ตาม
                     ลําดับ  นอกจากนี้จะเปนปญหาจากสภาพดินขาดความอุดมสมบูรณ  ลักษณะของดินมีความลาดชัน  ผล

                     ผลิตและปจจัยการผลิตมีคุณภาพต่ํา ตลอดจนถูกผูซื้อเอาเปรียบสิ่งตางๆ เหลานี้ เปนตน (ตารางที่ 3-8)


                                3.7.2  ปญหาในการครองชีพ        โดยทั่วๆ  ไปปญหาในการครองชีพจะมีลักษณะ  ของ
                     ปญหาคลายคลึงกันทุกครัวเรือน จะมีความแตกตางกันบางเพียงเล็กนอยขึ้นอยูกับลักษณะที่ตั้งของแตละ


                     ครัวเรือนของเกษตรกรในเขตลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลาง
                                   จากการสํารวจพบวามีครัวเรือนเกษตรถึงรอยละ 63.38  พบวามีปญหาในการครองชีพ

                     ขณะที่ครัวเรือนเกษตรเพียงสวนนอยเพียงรอยละ 36.62  จะไมมีปญหาในการครองชีพ  ลักษณะของปญหา
                     ในเรื่องของรายไดไมพอรายจายจะมีจํานวนครัวเรือนเกษตรจํานวนมากเฉลี่ยรอยละ 44.00  ของครัวเรือน

                     ที่มีปญหาพบไดบอยที่สุด และเนื่องจากรายไดไมพอรายจายจะทําใหเกิดปญหาไมมีรายไดพอที่จะไป

                     ชําระคืนเงินกู รองลงมา ไดแก ปญหาสาธารณูปโภคพื้นฐาน เชน ถนน ไฟฟา ประปาและโทรศัพท  มีไม

                     ครอบคลุมพื้นที่เนื่องจากพื้นที่ของลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลางมีขอบเขตพื้นที่กวางเกือบครึ่งหนึ่งของลุมน้ํา

                     สาขาแมน้ํายมตอนลางทั้งหมด (ตารางที่ 3-8)

                                3.7.3  ปญหาทางดานสังคมและความปลอดภัย         จากการสํารวจขอมูลเกษตรกรเกี่ยว

                     กับปญหาทางดานสังคมและความปลอดภัยของพื้นที่ชุมชนตางๆ  จะพบปญหาในดานนี้มากบางนอย

                     บาง  แลวแตลักษณะของแตละชุมชนที่อยูอาศัย  ตลอดจนสภาวะสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในแตละทองที่สวน

                     ใหญของครัวเรือนที่ถูกสํารวจแทบทั้งหมดจะไมคอยมีปญหานี้มีเพียงสวนนอยรอยละ 9.58 ของครัวเรือนทั้ง
                     หมดที่พบปญหาและปญหาที่ครัวเรือนสวนใหญพบมากที่สุด ไดแก ปญหาเรื่องยาเสพติดโดยเฉพาะยาบาซึ่ง

                     เปนที่นิยมเพราะหางาย  มีครัวเรือนเกษตรถึงรอยละ 82.35  ของครัวเรือนเกษตรที่มีปญหาพบมากเปน

                     อันดับแรก  รองลงมาไดแก  ปญหาจากการโจรกรรมลักเล็กขโมยนอยซึ่งมีอยูทั่วไปเฉลี่ยรอยละ 38.24
                     นอกจากนี้ก็เปนปญหาความขัดแยงในชุมชนในเรื่องความคิดความเห็นไมตรงกันบางและปญหาความขัด

                     แยงนอกชุมชนในเรื่องของการแยงแหลงน้ําเพื่อการเกษตร  ซึ่งเปนปญหาไมกอใหเกิดความรุนแรงใดๆ (ตา

                     รางที่ 3-8)


                                3.7.4  ปญหาดานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม        มีครัวเรือนเกษตรเกือบครึ่งหรือรอยละ
                     41.41  ที่ใหคําตอบวามีปญหาในดานนี้   โดยลักษณะของปญหาที่ครัวเรือนเกษตรสวนใหญรอยละ
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46