Page 38 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 38

3-2



                     และประกอบอาชีพอื่นรอยละ 10.36  ทําการเกษตรในครัวเรือนและรับจางทั้งในและนอกการเกษตรและ

                     ประกอบอาชีพอื่นเพียงอยางเดียวจะมีจํานวนนอยที่สุดรอยละ 4.59 ของผูทํางาน  สําหรับผูที่ไมไดทํางาน

                     สวนใหญอยูในวัยที่กําลังศึกษาเลาเรียน   รองลงมาไดแก   คนชราและเด็กเล็ก  ตลอดจนแมบานและคน

                     พิการตามลําดับ (ตารางที่ 3-1 – 3-2)

                     3.2  การเขารับการฝกอบรม

                                ในรอบ 5 ปที่ผานมา มีหนวยงานของรัฐไดเขามาใหการอบรมใหความรูคําแนะนําที่เกี่ยว

                     ของกับการประกอบอาชีพในหลายชนิดของอาชีพแกหัวหนาครัวเรือน ซึ่งสวนใหญรอยละ 72.11  ของหัว
                     หนาครัวเรือนไมเคยเขารับการอบรมจะมีเพียงสวนนอยรอยละ 27.89  ที่เขารับการอบรม  ลักษณะของ

                     การอบรมเกี่ยวของกับการประกอบอาชีพทั้งปลูกพืชและเลี้ยงสัตว  โดยมีเจาหนาที่จากหลายหนวยงานของ

                     รัฐเขามาใหการอบรม เชน เกษตรอําเภอ พัฒนาชุมชน กรมชลประทาน สถานีพัฒนาที่ดิน เปนตน หนวย

                     งานที่เขามามากที่สุด  คือ  เกษตรอําเภอ  จะเขามาใหการอบรมเกี่ยวกับการปลูกพืช    การใชสารเคมี

                     การทําสารธรรมชาติ  และการปลูกผักสวนครัว  หนวยงานของพัฒนาชุมชนใหการอบรมเกี่ยวกับการปลูก
                     พืช  การเลี้ยงสัตว  และปญหาโรคพืช  สถานีพัฒนาที่ดินใหการอบรมเกี่ยวกับการทําปุยหมัก ตลอดจน

                     เจาหนาที่จากโรงงานยาสูบใหการอบรมเกี่ยวกับการปลูกยาสูบ  เปนตน  การอบรมชนิดไหนที่เกี่ยวของ

                     กับอาชีพของตนเอง   หัวหนาครัวเรือนจะเขารับการอบรมกันเปนจํานวนมาก  เพราะเห็นคุณคาของการอ

                     บรมเพื่อนําไปใชไดโดยตรงกับอาชีพประจําของตัวเองและมีประโยชน การอบรมบางอยางหัวหนาครัว
                     เรือนก็ไมใหความสนใจเทาที่ควรเพราะคิดวาไมเกี่ยวของกับตนเอง  จะมีคนเขารับการอบรมกันนอยมาก

                     จะสังเกตไดวาชนิดของการอบรมซึ่งหัวหนาครัวเรือนไดมีกิจกรรมในชีวิตประจําวันและเปนอาชีพหลักของ

                     ตัวเอง จะใหความสนใจและเขารับการอบรมเปนจํานวนมาก (ตารางที่ 3-3)

                     3.3  การเปนสมาชิกกลุมหรือสถาบัน

                                จากผลการสํารวจหัวหนาครัวเรือนในสวนของการเปนสมาชิกกลุมหรือสถาบันตางๆ   ที่ถูก

                     จัดตั้งขึ้นของครัวเรือนเกษตรกรในเขตพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลาง  พบวามีกลุมหรือสถาบันตางๆ
                     หลายแหง  ไดแก  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร  สหกรณการเกษตร  กองทุนหมูบาน

                     (เงินลาน)  กองทุนองคการบริหารสวนตําบล (เงินแสน)   กลุมออมทรัพยหมูบาน  โครงการแกไข

                     ปญหาความยากจน (กขคจ)  และสหกรณโรงบมใบยา  ซึ่งในแตละกลุมจะมีวัตถุประสงคในการจัดตั้ง

                     แตกตางกันออกไปแลวแตชนิดของกลุมหรือสถาบัน  แตวัตถุประสงคหลักจะใหความชวยเหลือในดาน

                     การประกอบอาชีพ โดยที่มีหัวหนาครัวเรือนใหความสนใจเขาเปนสมาชิกในแตละกลุมมีมากถึงรอยละ 87.61
                     ของครัวเรือนทั้งหมด โดยเฉพาะธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรจะมีหัวหนาครัวเรือนให

                     ความสนใจเขาเปนสมาชิกมากที่สุดรอยละ  80.39  ของครัวเรือนที่เปนสมาชิก รองลงมา ไดแก
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43