Page 39 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 39

3-3



                      กองทุนหมูบาน  (เงินลาน)  เฉลี่ยรอยละ 28.30  สหกรณการเกษตรเฉลี่ยรอยละ 15.11 ที่เหลือจะเปน

                     สมาชิกกลุมหรือสถาบันอื่น ๆ ดังที่กลาวมาแลวขางตน กลุมหรือสถาบันทั้งหมดมีวัตถุประสงคหลักคือ ให

                     เกษตรกรกูยืมเงินเพื่อการประกอบอาชีพ  ซึ่งหัวหนาครัวเรือนเห็นวาใหประโยชนโดยตรงกับชีวิตความเปน

                     อยูประจําวัน สวนใหญก็ไดรับผลประโยชนจากการเขาเปนสมาชิกมากและนอยแตกตางกันออกไป   (ตา

                     รางที่ 3-4)

                     3.4  การถือครองและการใชประโยชนที่ดิน

                                เกษตรกรถือครองที่ดินเฉลี่ยครัวเรือนละ 35.30 ไร ในจํานวนนี้จะเปนเนื้อที่ถือครองของตนเอง

                     เฉลี่ยครัวเรือนละ 25.11 ไร มีที่เชาและเขาทําเปลาอยูเพียงเล็กนอยเฉลี่ยครัวเรือนละ 9.42 และ 0.77 ไร
                     ตามลําดับ  หนังสือสําคัญในที่ดินมากกวาครึ่งจะเปนโฉนดที่ดินเฉลี่ยรอยละ 53.14  ของเนื้อที่ถือครอง

                     ของตนเอง  รองลงมาไดแก ส.ป.ก.4-01 และ น.ส.3 เฉลี่ยรอยละ 16.91 และ 14.22 ตามลําดับ  สวนที่เหลือ

                     จะเปน  ภ.บ.ท.5  น.ส.3ก  และ ส.ค.1 จะนอยที่สุด

                                สําหรับลักษณะของการใชที่ดินของครัวเรือนเกษตรกรในเขตพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอน
                     ลาง  สวนใหญใชในการทํานาขาว  โดยเปนที่นามากที่สุดเฉลี่ยรอยละ 70.48  ของการใชประโยชนที่ดินทั้ง

                     หมดหรือในแตละครัวเรือนจะมีที่นาอยูครัวเรือนละ 24.88  ไร  รองลงมาไดแก  ที่ไรซึ่งใชในการปลูกพืช

                     ตระกูลถั่วชนิดตางๆ ออย และขาวโพด เปนตน สวนที่ปลูกไมผลและไมยืนตนมีอยูเพียงรอยละ 3.53 ที่

                     เหลือจะเปนที่อยูอาศัย  ที่ทิ้งวางและที่ปลูกพืชผัก (ตารางที่ 3-5)

                     3.5  รายได - รายจายของครัวเรือนเกษตร

                                เปนผลจากความแตกตางระหวางรายไดรวมทั้งหมดของครัวเรือนกับคาใชจายรวมที่เกิดขึ้น

                     ในแตละรอบปการผลิต เมื่อศึกษาถึงแหลงที่มาของรายไดทั้งหมดที่เกิดขึ้นของครัวเรือนเกษตร ประกอบดวย
                     รายไดในฟารมและรายไดนอกฟารม  พบวาครัวเรือนเกษตรจะมีรายไดทั้งหมดเฉลี่ยครัวเรือนละ 175,127.74

                     บาท ในที่นี้จะเปนรายไดในฟารมจากพืชและสัตวเฉลี่ยครัวเรือนละ 147,927.52 บาท และรายไดนอกฟารม

                     เฉลี่ยครัวเรือนละ 27,200.22  บาท   ขณะเดียวกันจะมีรายจายทั้งหมดเฉลี่ยครัวเรือนละ  139,079.22

                     บาท ในจํานวนนี้ประมาณรอยละ 24.08 จะเปนคาใชจายที่ไมเปนเงินสดโดยเฉพาะคาใชจายในการผลิตพืช
                     ไดแก คาจางแรงงานคนและเครื่องจักรตลอดจนคาพันธุและอื่นๆ  อีกเล็กนอย  เมื่อพิจารณาถึงรายได

                     และรายจายทั้งหมดของเกษตรกรพบวา เกษตรกรจะมีรายไดมากกวารายจาย ดังนั้นจะมีรายไดหรือเงินออม

                     สุทธิเฉลี่ยครัวเรือนละ 36,048.52 บาท (ตารางที่ 3-6)

                     3.6  ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินของครัวเรือนเกษตร

                                จากการศึกษาในเรื่องของภาวะหนี้สินและลักษณะการกูยืมเงินของเกษตรกรในเขตพื้นที่ลุม

                     น้ํา ปรากฏวาครัวเรือนเกษตรสวนใหญเฉลี่ยรอยละ 83.38  จะเปนหนี้  ลักษณะของการกูยืมจะมีทั้งกูยืม
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44