Page 35 - ฐานข้อมูลแผนที่แหล่งน้ำประเทศไทย พ.ศ. 2546
P. 35

23








                                   6.1  การพัฒนาแหลงน้ําในพื้นที่สาธารณประโยชน
                                          พื้นที่สาธารณประโยชน   เปนพื้นที่ที่ประชาชนใชประโยชนรวมกัน   ซึ่ง

                     กระทรวงมหาดไทยเปนผูดูแลโดยผานทางผูวาราชการจังหวัดตาง ๆ เชน  พื้นที่แหลงน้ําตามธรรมชาติตาง ๆ

                     ไดแก  หนอง  บึง  ลําน้ําตาง ๆ และทําเลเลี้ยงสัตว  หรือพื้นที่ของสวนราชการอื่น ๆ  เปนผูดูแล เชน  พื้นที่
                     ของทางราชการทหาร   และพื้นที่ปาเสื่อมโทรม   ถามีการพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่เหลานี้

                     โอกาสที่ประชาชนจะไดใชประโยชนรวมกันจะมีมากกวาที่จะไปพัฒนาแหลงน้ําในพื้นที่สวนบุคคล

                     หรือในพื้นที่ของประชาชนทั่วไป ซึ่งอาจมีปญหาขัดแยงในการแยงกันใชประโยชนจากแหลงน้ําที่จัด

                     สรางขึ้นได
                                   6.2  การพัฒนาแหลงน้ําในพื้นที่แหงแลงและน้ําทวมซ้ําซาก

                                          การพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่แหงแลงและน้ําทวม  ซ้ําซาก  มีความ

                     จําเปนและเรงดวนอยางมากในการชวยบรรเทาความเดือดรอนของประชาชนในพื้นที่   กอนที่โครง

                     การพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญจะเกิดขึ้น   ซึ่งในปจจุบันโครงการขนาดใหญเกิดขึ้นไดยากเนื่องจาก
                     ตองใชงบประมาณสูงและมักไดรับการตอตานจากประชาชนที่ไดรับผลกระทบและจากกลุมอนุรักษ

                     ตาง  ๆ  พื้นที่แหงแลงซ้ําซากหรือแหงแลงเปนประจําเปนที่เขาใจทั่วไปอยูแลววา   ควรมีแหลงน้ําให

                     ประชาชนไดใชเพื่อแกปญหาการขาดแคลนน้ํา   สําหรับในพื้นที่น้ําทวมซ้ําซากหรือน้ําทวมเปน
                     ประจําทุกป  ก็มีความจําเปนตองพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กพอ ๆ กันกับในพื้นที่แหงแลงซ้ําซาก  เนื่อง

                     จากในพื้นที่น้ําทวมซ้ําซาก   การเพาะปลูกพืชในฤดูเพาะปลูกหรือฤดูฝนมักไมคอยไดผล   พืชผลจะ

                     เสียหายจากน้ําทวม   จะทําการเพาะปลูกชวงกอนฤดูฝนหรือหลังฤดูฝนเมื่อน้ําไมทวมแลวมักมีน้ําไม
                     เพียงพอในการเพาะปลูก   โดยเฉพาะพื้นที่ที่ไมมีน้ําชลประทานหรือพื้นที่ที่อยูหางไกลแหลงน้ํา  แนว

                     ทางการพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กเพื่อการพัฒนาที่ดินในพื้นที่เหลานี้คือ  ขุดลอกหนอง  บึง  และลําน้ํา

                     ที่มีอยูแลวใหกักเก็บน้ําไดมากขึ้น   และระบายน้ําไดดีขึ้น   นอกจากนี้ควรมีการสรางสระน้ําเพิ่มเติม
                     เพื่อแหลงน้ําที่ขุดลอกแลวและแหลงน้ําที่สรางขึ้นใหม  จะเปนประโยชนอยางมากตอเกษตรกรในพื้น

                     ที่ชวงฤดูแลงหรือหลังน้ําลด   ในดานเปนแหลงน้ําสําหรับการเพาะปลูก   เปนแหลงน้ําของสัตวเลี้ยง

                     และเปนแหลงจับสัตวน้ําหรือเพาะเลี้ยงสัตวน้ําได

                                   6.3  การพัฒนาแหลงน้ําในพื้นที่ที่มีการชะลางพังทลายของดิน
                                          การพัฒนาแหลงน้ําในพื้นที่ที่มีการชะลางพังทลายของดินเกินกวาระดับที่

                     ยอมรับได คือ ตั้งแตระดับการสูญเสียดินปานกลางถึงรุนแรงมากที่สุด  คือ  สูญเสียดิน  2-มากกวา  20 ตัน/ไร/ป
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40