Page 33 - ฐานข้อมูลแผนที่แหล่งน้ำประเทศไทย พ.ศ. 2546
P. 33
21
ภาคตะวันออกเปนน้ําจืดประมาณ 571,000 ไร และน้ํากรอยหรือน้ําเค็มบริเวณปากแมน้ําที่ไหลลง
ทะเลเฉลี่ยประมาณ 3,000 ไร
3.4 พื้นที่แหลงน้ําผิวดินภาคกลาง
พื้นที่แหลงน้ําผิวดินภาคกลาง มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 1,440,000 ไร โดยเปน
พื้นที่อางเก็บน้ํา 600,000 ไร หรือรอยละ 41.67 ของพื้นที่แหลงน้ําทั้งภาคฯ เปนพื้นที่แมน้ํา ลําคลอง
ลําหวย เนื้อที่ 430,000 ไร หรือรอยละ 29.86 ของพื้นที่แหลงน้ําทั้งภาคฯ และเปนพื้นที่แหลงน้ํา
ผิวดินอื่น ๆ 410,000 ไร หรือรอยละ 28.47 ของพื้นที่ของแหลงน้ําทั้งภาคฯ คุณภาพของแหลงน้ํา
ผิวดินภาคกลางเปนน้ําจืดประมาณ 1,435,000 ไร และเปนน้ํากรอยหรือน้ําเค็มบริเวณปากน้ําที่ไหลลง
ทะเลประมาณ 5,000 ไร
3.5 พื้นที่แหลงน้ําผิวดินภาคใต
พื้นที่แหลงน้ําผิวดินภาคใต มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 2,389,000 ไร โดย
เปนพื้นที่อางเก็บน้ํา 260,000 ไร หรือรอยละ 10.88 ของพื้นที่แหลงน้ําทั้งภาคฯ เปนพื้นที่แมน้ํา
ลําคลอง ลําหวย เนื้อที่ 371,000 ไร หรือรอยละ 15.53 ของพื้นที่แหลงน้ําทั้งภาคฯ และเปนพื้นที่แหลงน้ํา
ผิวดินอื่น ๆ เนื้อที่ 1,758,000 ไร หรือรอยละ 73.59 ของพื้นที่แหลงน้ําทั้งภาคฯ คุณภาพของน้ําผิวดิน
ภาคใตเปนน้ําจืดประมาณ 2,174,000 ไร และเปนพื้นที่น้ํากรอยหรือน้ําเค็มเฉลี่ยประมาณ 215,000 ไร
ซึ่งอยูบริเวณปากน้ําที่ไหลลงทะเลและบริเวณทะเลสาบสงขลา
อนึ่ง พื้นที่บางสวนที่มีสภาพคลายกับแหลงน้ําผิวดินแตมีลักษณะการใชที่
ดินเฉพาะ เชน พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา และพื้นที่ปลูกพืชน้ําไมไดนํามารวมเปนพื้นที่แหลงน้ําผิวดิน
1/
โดยพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําสวนใหญเปนบอเลี้ยงกุงและบอเลี้ยงปลามีเนื้อที่ทั้งหมด 1,813,497 ไร
เปนพื้นที่เพาะเลี้ยงชายฝงหรือเพาะเลี้ยงสัตวน้ํากรอยประมาณ 80% ของพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําทั้งหมด
ซึ่งกระจายตัวอยูในสามภาคที่มีพื้นที่ติดทะเล คือ ภาคตะวันออก ภาคกลางและภาคใต พื้นที่ปลูกพืช
น้ํามีเนื้อที่ทั้งหมด 6,476 ไร พืชน้ําที่ปลูกสวนใหญไดแก บัว
1/
4. พื้นที่ชลประทาน
พื้นที่ชลประทาน (Irrigable Area) คือพื้นที่โครงการสวนที่สามารถไดรับน้ําชลประทาน
และสามารถปลูกพืชได (พื้นที่ชลประทานตามความหมายของกรมชลประทาน) จากการจัดทําฐาน
ขอมูลแผนที่แหลงน้ําผิวดินประเทศไทย มีอางเก็บน้ําขนาดใหญ ขนาดกลางและขนาดเล็ก ทั้งหมด
1/ สรุปจากสภาพการใชที่ดิน ป พ.ศ. 2543/44 สวนวิเคราะหการใชที่ดิน