Page 34 - ฐานข้อมูลแผนที่แหล่งน้ำประเทศไทย พ.ศ. 2546
P. 34

22





                     5,230  แหง  เนื้อที่ประมาณ  2,240,000  ไร  มีความจุในการกักเก็บน้ําประมาณ  73,389  ลานลูกบาศกเมตร

                     มีฝายและเขื่อนกั้นน้ําทั้งหมด  3,234   แหง   จากรายงานสถิติโครงการชลประทานของกรมชลประทาน
                     ประเทศไทยมีพื้นที่ชลประทานขนาดตาง ๆ ที่สรางเสร็จถึงสิ้นปงบประมาณพ.ศ. 2545  ดังตอไปนี้

                     คือ  (รายละเอียดตารางผนวกที่ 7)

                                   โครงการชลประทานขนาดใหญ  มีพื้นที่ชลประทาน  16,242,499  ไร  โครงการชลประทาน
                     ขนาดกลาง  6,727,386  ไร  โครงการชลประทานขนาดเล็ก  9,049,740  ไร   โครงการชลประทาน

                     อันเนื่องมาจากพระราชดําริ  1,133,771  ไร  และโครงการชลประทานหมูบานปองกันตนเองชายแดน

                     มีพื้นที่ชลประทาน  208,961  ไร  โดยโครงการชลประทานขนาดใหญ ภาคกลางมีพื้นที่ชลประทาน

                     มากสุด  9,942,435  ไร  หรือ  61%  ของโครงการขนาดใหญ  โครงการชลประทานขนาดกลาง  ขนาดเล็ก
                     อันเนื่องมาจากพระราชดําริและหมูบานปองกันตนเองชายแดนภาคเหนือมีพื้นที่ชลประทานมากสุด

                     คือ  1,778,343  3,422,744  3,422,744  และ  86,755  ไร  หรือ  31  38  57  และ  42%  ของพื้นที่

                     โครงการชลประทานนั้นๆ ตามลําดับ

                            5.  พื้นที่เกษตรกรรมที่มีน้ําชลประทาน
                                   พื้นที่เกษตรกรรมที่มีน้ําชลประทาน  จากการสํารวจพื้นที่ของสวนวิเคราะหการใชที่ดิน

                     ป พ.ศ. 2543/44  พบวามีพื้นที่เกษตรกรรมของประเทศไทยมีเนื้อที่ทั้งหมด  180,347,173  ไร  หรือรอยละ

                     56.23  ของเนื้อที่ประเทศเปนพื้นที่เกษตรกรรมที่อาศัยน้ําฝน  170,454,412  ไร  หรือรอยละ  94.52  ของ
                     พื้นที่เกษตรกรรมทั้งหมดและเปนพื้นที่เกษตรกรรมที่มีน้ําชลประทาน  9,892,761  ไร  หรือรอยละ

                     5.48  ของพื้นที่เกษตรกรรมทั้งหมด  โดยพื้นที่เกษตรกรรมที่มีน้ําชลประทานในภาคเหนือ  ตะวันออก

                     เฉียงเหนือ  ตะวันออก  กลาง  และภาคใต  มีเนื้อที่  953,964  963,152  1,359,786  6,214,314  และ
                     401,545  ไร หรือรอยละ  2.39  1.29  9.58  26.37  และ 1.45  ของพื้นที่เกษตรกรรมในแตละภาคตาม

                     ลําดับ  (รายละเอียดตารางผนวกที่  8)

                            6.  แนวทางการพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็ก

                                   แนวทางการพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็ก    เพื่อการพัฒนาที่ดินและการอนุรักษดินและน้ํา
                     ควรมุงเนนในพื้นที่สาธารณประโยชน  พื้นที่แหงแลงซ้ําซากพื้นที่น้ําทวมซ้ําซากและพื้นที่ที่มีการชะลาง

                     พังทลายของดินระดับรุนแรง  นอกจากนี้กอนมีการดําเนินการพัฒนาแหลงน้ํา  หลังจากสํารวจความ

                     เหมาะสมทางดานกายภาพแลว  ควรมีการสํารวจสภาวะเศรษฐกิจสังคมและความตองการของทองถิ่นนั้น
                     ดวยวามีความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจ  สังคม  ระดับไหนมากปานกลางหรือนอย  และเพื่อแกปญหาการ

                     ขัดแยงของชุมชนนั้นในระหวางกําลังดําเนินงานพัฒนาแหลงน้ํานั้นในรายละเอียดดังตอไปนี้
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39