Page 19 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้ง ปี 2548
P. 19

7


                                     4.2  ฐานขอมูลเชิงคุณลักษณะ      เปนการกําหนดคุณลักษณะของแผนที่นําเขาแตละ

               ประเภทขอมูลจากนั้นสรางความสัมพันธระหวางฐานขอมูลทั้งสอง  เพื่อเตรียมความพรอมในการวิเคราะหในระบบ
               สารสนเทศภูมิศาสตรตอไป

                              5)  จัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูก  จากฐานขอมูล สามารถนํามาวิเคราะหหาพื้นที่ปลูกถั่วเหลือง

               ฤดูแลง  พรอมทั้งแสดงรายละเอียดเปนรายตําบลของทุกจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูก

                              6)  การหาคาผลผลิตเฉลี่ยเปนรายตําบล  เปนการหาคาผลผลิตเฉลี่ยของถั่วเหลืองฤดูแลง  โดย

               รวบรวมขอมูลผลผลิตเฉลี่ยของทุกจุดตรวจสอบ (  รวมพันธุ )  ในแตละตําบลแลวหาคาเฉลี่ย  จากนั้นจึงนําไป
               คํานวณหาผลผลิตรวมของตําบลนั้นๆ  ในกรณีที่บางตําบลมีจํานวนจุดตรวจสอบนอย  ทําไดโดยการรวมกับ

               ตําบลอื่นๆ  ที่อยูใกลเคียงแลวหาคาเฉลี่ย  สําหรับบางตําบลที่ไมมีขอมูลจากจุดตรวจสอบใชคาเฉลี่ยของตําบล

               ขางเคียงหรือจากคาผลผลิตเฉลี่ยระดับอําเภอของกรมสงเสริมการเกษตรปการเพาะปลูก2546/47

                               7) การวิเคราะหและประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร         นําขอมูลผลผลิตเฉลี่ย
               รายตําบลที่ไดจากการรวบรวมขอมูลภาคสนามในแตละจังหวัด      และแผนที่พื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงสูระบบ

               สารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อวิเคราะหพื้นที่ปลูกและประเมินผลผลิตถั่วเหลืองในพื้นที่  26  จังหวัดเปนรายตําบล โดย

               วิธีซอนทับทางคณิตศาสตรแบบ Intersection  ดวยแผนที่เขตการปกครองระดับตําบลที่นําเขาสูระบบสารสนเทศ

               เรียบรอยแลวผลการวิเคราะหและประมวลผลจะทําใหไดพื้นที่ปลูกและผลผลิตรวมเปนรายตําบลของแตละจังหวัด


               10.  ผลการดําเนินงาน

                      โดยภาพรวมฤดูปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงจะเริ่มตั้งแตหลังจากการเก็บเกี่ยวขาวนาปหรือพืชอื่นๆ   ที่ปลูกใน
               ฤดูฝนไปแลว คือประมาณปลายเดือนธันวาคมเปนตนไป ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนืออาจมีความ

               แตกตางกันบางแลวแตละพื้นที่และปริมาณน้ําที่กักเก็บไวใชในการเกษตรฤดูแลง  ซึ่งพื้นที่สวนใหญปริมาณน้ําไม

               เพียงพอ  แหลงปลูกจึงอยูในเขตชลประทาน
                      10.1  การกระจายพันธุถั่วเหลืองฤดูแลงที่ปลูกในป พ.ศ.2548

                                     ผลการสํารวจตรวจสอบ   และรวบรวมขอมูลในภาพรวมของพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงทั้ง  26  จังหวัด  จาก

               จํานวนตัวอยางที่รวบรวมจากเกษตรกรทั้งหมด  2,913   ราย   พบวาพันธุถั่วเหลืองฤดูแลงที่เกษตรกรนิยมปลูก

               มากที่สุด  คือ  พันธุเชียงใหม 60  หรือคิดเปนรอยละ 54.90  ของจํานวนตัวอยางทั้งหมด ปลูกมากที่สุดทั้งใน

               ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   สวนพันธุอื่นๆ ที่พบไดแก   เชียงใหม 2 สุโขทัย 2  สจ.4  สจ.5
               และราชมงคล   ( รายละเอียดดูจากตารางที่ 1 - 2 )
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24