Page 18 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้ง ปี 2548
P. 18

6

























                                                                   ถั่วเหลืองฤดูแลง












                                          รูปที่ 1 - 2  ภาพดาวเทียม  LANDSAT – 5 ( TM )

               แสดงพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงบริเวณ อ. เกษตรสมบูรณ     จ. ชัยภูมิ  ( บันทึกเมื่อ  25  กุมภาพันธ  พ.ศ. 2548 )


                                     3.2  การสํารวจภาคสนาม  เพื่อตรวจสอบการแปลภาพจากขอมูลดาวเทียมจําแนก

               พื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลง  และรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับการปลูก  เชน  ขนาดพื้นที่  พันธุถั่วเหลืองฤดูแลง

               ผลผลิตเฉลี่ยตอไร   ระยะเวลาเก็บเกี่ยว   การจัดการดูแลรักษา   ราคาที่เกษตรกรขายได  ฯลฯ   ทั้งนี้โดยใช
               เครื่องอานพิกัดทางภูมิศาสตร ( GPS )  บอกตําแหนงจุดตรวจสอบแตละจุดไดอยางแมนยํา  ซึ่งสามารถอางอิงได

               กับแผนที่ภูมิประเทศ  มาตราสวน 1 : 50,000

                                     3.3  การจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงรายตําบลของแตละจังหวัด

                              4)  สรางฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร ( GIS database ) โดยการนําเขาขอมูลทั้งในรูป
               แผนที่  จุดพิกัด  พรอมคุณลักษณะของจุดตรวจสอบจากภาคสนาม  เพื่อสรางฐานขอมูลในการวิเคราะห

               พื้นที่ปลูก พื้นที่ความเหมาะสมของดิน กลุมชุดดิน และประเมินผลผลิต ดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร  ( GIS )

               ดังนี้

                                     4.1  ฐานขอมูลเชิงพื้นที่  ( Spatial data ) ประกอบดวย

                                         - แผนที่พื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงรายตําบลของแตละจังหวัดทั้ง 26  จังหวัด
                                         -  แผนที่แสดงขอบเขตการปกครองระดับตําบล

                                         -  แผนที่เสนทางคมนาคม

                                         - พิกัดของจุดตรวจสอบขอมูลจากภาคสนาม ( แบบสอบถาม )
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23