Page 17 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้ง ปี 2548
P. 17

5


                              2)  การเตรียมขอมูลจากดาวเทียม
                                     2.1 การแกไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต ( Geometric Correction )  เนื่องจาก

               ขอมูลดาวเทียมที่ไดมายังมีความคลาดเคลื่อนในเชิงตําแหนงทางภูมิศาสตร   จึงตองดําเนินการแกไขตําแหนง

               ใหถูกตองเพื่อใหสามารถซอนทับกับขอมูล ( แผนที่ ) อื่น ๆ ได  โดยใชแผนที่ภูมิประเทศ มาตราสวน 1 : 50,000

               จากกรมแผนที่ทหารเปนแผนที่อางอิง ทั้งนี้โดยใชโปรแกรมประยุกต  PCI ( EASI/PACE )  ในการดําเนินการ
                                     2.2  การเนนภาพ ( Image Enhancement ) เปนการเพิ่มความคมชัดของขอมูลในภาพ

               ดาวเทียม เพื่อความถูกตองในการวิเคราะห

                                     2.3  การผลิตภาพชวงคลื่นผสม  3  ชวงคลื่น   4R – 5G – 3B  จากขอมูลดาวเทียม

               เพื่อการวิเคราะหพื้นที่เพาะปลูกและรวบรวมขอมูลในภาคสนาม

                              3)  การสํารวจและวิเคราะหพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลง
                                     3.1  วิเคราะหขอมูลดาวเทียม    เพื่อจําแนกพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลง     ในระดับตําบล

               อําเภอ  และจังหวัด  ครอบคลุมพื้นที่ปลูกทั้งหมด  และจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลง  โดยการแปล

               จากภาพถายดาวเทียมดวยสายตา  เพื่อใชตรวจสอบในภาคสนาม















                                                       ถั่วเหลืองฤดูแลง



                                                                         ยาสูบ












                              นาขาว




                                          รูปที่ 1 - 1  ภาพดาวเทียม  LANDSAT – 5 ( TM )


                   แสดงพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงบริเวณ อ.แมอาย   จ.เชียงใหม  ( บันทึกเมื่อ 23  กุมภาพันธ  พ.ศ. 2548 )
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22