Page 35 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 35
2-21
ตารางที่ 2-8 (ตอ)
กลุมชุดดิน ลักษณะเดนประจํากลุมชุดดิน
กลุมดินลึกปานกลาง
50 - ดินรวนลึกปานกลางถึงเศษหิน กอนหินหรือชั้นหินพื้น
53 - ดินเหนียวลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้น ลูกรังหรือเศษหิน
4. กลุมชุดดินที่มีความลาดชันสูง
62 - พื้นที่ลาดชันเชิงซอนที่มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต
ที่มา : สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน (2548)
3) กลุมชุดดินในพื้นที่ดอนที่อยูในเขตดินชื้น
ลักษณะโดยทั่วไปเหมือนกลุมชุดดินในพื้นที่ดอนในเขตดินแหง แตพบในภาคใต
และพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออกเฉียงใต มีอยู 11 กลุมชุดดิน ไดแก กลุมชุดดินที่ 26 27 32 34
39 42 43 45 50 51 และ 53
4) กลุมชุดดินที่มีความลาดชันสูง
พื้นที่ภูเขาและเทือกเขา ที่มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต ไดแก กลุมชุดดินที่ 62
2.4 ทรัพยากรน้ํา
2.4.1 แหลงน้ําตามธรรมชาติ
1) แหลงน้ําในภาคเหนือ
แหลงน้ําในภาคเหนือ เนื่องจากสภาพภูมิประเทศในภาคเหนือมีลักษณะเปนภูเขา
ซึ่งมีที่ราบแคบๆ คั่นอยูระหวางภูเขา ดังนั้นแหลงน้ําภาคเหนือจึงเกิดจากภูเขาตางๆ เหลานั้นและ
ไหลอยูในระหวางหุบเขาโดยมีทิศทางลงสูที่ราบภาคกลางและแมน้ําโขง ซึ่งจะประกอบดวย
แมน้ําสายสําคัญ ไดแก น้ําแมกก น้ําแมลาว น้ําแมอิง แมน้ําปง แมน้ําวัง แมน้ํายม แมน้ํานาน เปนตน
โดยน้ําแมกก น้ําแมลาว น้ําแมอิง จะไหลลงสูแมน้ําโขง สวนแมน้ําปง แมน้ําวัง แมน้ํายม แมน้ํานาน
จะไหลเขารวมกันลงสูแมน้ําเจาพระยา ที่จังหวัดนครสวรรค
2) แหลงน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แหลงน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากสภาพภูมิประเทศที่มีลักษณะเปนเนินเขา
ระดับสูงปานกลางติดตอกัน โดยเปนพื้นที่ราบสูงซึ่งมีระดับสูงกวาระดับน้ําทะเลปานกลาง
เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน