Page 46 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 46

2-26








               2.5.2    วิถีการตลาดและราคาผลผลิต

                        1) วิถีการตลาด

                            วิถีการตลาดเงาะ  ผลผลิตเงาะจากแหลงผลิตหรือสวนเงาะของเกษตรกรกอนที่จะถึง
               มือผูบริโภคนั้น ไดผานพอคาในระดับตาง ๆ  เชน  พอคาทองที่  ทอคาทองถิ่น  พอคาขายสง

               ตางจังหวัด  พอคาขายสงกรุงเทพฯ โรงงานแปรรูป พอคาขายปลีก พอคาสงออก เปนตน ซึ่งพอคา

               แตละระดับจะทําหนาที่แตกตางกัน  สําหรับรายละเอียดของวิถีการตลาดเงาะโดยทั่ว ๆ  ไปเปนดังนี้

               (รูปที่ 2)
                            ลักษณะการซื้อขายเงาะ การซื้อขายเงาะในภาคตะวันออกจะเริ่มตั้งแตเดือนพฤษภาคม

               - สิงหาคมของทุกป สวนการซื้อขายเงาะในภาคใตจะเริ่มตั้งแตเดือนกรกฎาคม-กันยายนของทุกป

               ในชวงที่ผลผลิตเริ่มออกสูตลาดราคาจะสูงมากทั้งเงาะพันธุโรงเรียนและเงาะพันธุสีชมพู แตเมื่อมีเงาะ

               ทยอยออกสูตลาดมากขึ้นราคาก็จะลดลงอยางรวดเร็ว และราคาจะสูงขึ้นอีกเล็กนอยเมื่อใกลจะหมดฤดู
               การเก็บเกี่ยว เนื่องจากปริมาณผลลิตของเงาะออกสูตลาดนอยลง ซึ่งโดยทั่วไปแลวราคาของเงาะ

               พันธุโรงเรียนจะสูงกวาพันธุสีชมพู สําหรับลักษณะการซื้อขายเงาะที่นิยมปฏิบัติกันทั้งในภาคตะวันออก

               และภาคใตมี 4 ลักษณะดังนี้
                            1. ขายที่สวนโดยตรง เปนการตกลงซื้อขายกันลวงหนา โดยที่ผูซื้อซึ่งไดแก ผูรวบรวม

               ทองถิ่น ผูคาทองถิ่น ผูคาตางถิ่น หรือนายหนาจะเขาไปติดตอตกลงซื้อขายกับชาวสวนแตละราย

               ในเรื่องของราคา ปริมาณ ขนาด และจะกําหนดวันและเวลามารับผลผลิตไวกอนลวงหนา โดยที่
               ผูซื้อเหลานี้จะนําเขงไปทิ้งไวใหชาวสวนเก็บเกี่ยวบรรจุเงาะใสเขงไวรอในวันที่กําหนดมารับ

               ผลผลิต การซื้อขายในลักษณะนี้สวนใหญผูซื้อกับผูขายจะคุนเคยหรือเคยเปนคูคากันมากอน

               โดยอาศัยความเชื่อใจกันเปนหลัก หรือผูซื้ออาจจะมัดจําเงินไวใหแกเจาของสวนไวสวนหนึ่งกอน
               เพื่อเปนการสรางความมั่นใจใหกันและกันระหวางผูซื้อกับเจาของสวน

                            2. เกษตรกรนําไปขายเองที่ตลาดขายสงในทองถิ่นหรือจุดรับซื้อที่ใกลสวน การซื้อ

               ขายกันในลักษณะนี้จะตองมีจุดซื้อขายหรือตลาดนัดในทองถิ่นที่เกษตรกรสามารถนําผลผลิตไป

               ขายเองได นอกจากเกษตรกรจะนําเงาะมาขายแลวยังนําผลไมอื่น เชน ทุเรียน มังคุด ระกํา มาขายดวย
               สําหรับการขายผลผลิตเงาะของเกษตรกรในลักษณะนี้มี 2 แบบคือ เกษตรกรนําผลผลิตมาขายใหกับ

               ผูซื้อทั่วไปที่สนใจจะซื้อผลผลิตของตน โดยไมตองมีความคุนเคยหรือซื้อขายกันมากอน

                            3. เกษตรกรนําเงาะมาขายแกผูซื้อในตลาดกรุงเทพฯ เองโดยตรง ผูซื้อที่สําคัญ
               ในตลาดกรุงเทพฯ จะอยูที่ปากคลองตลาด ตลาดสี่มุมเมือง ตลาดมหานาค และตลาดไท วิธีการขาย

               โดยเกษตรกรหรือกลุมเกษตรกรจะรวบรวมผลผลิตเพื่อใหไดปริมาณมาก แลวสงไปใหผูซื้อที่กรุงเทพฯ

               โดยใชบริการของบริษัทขนสงเอกชนหรือใชรถบรรทุกของตนเองบรรทุกผลผลิตเมื่อผูซื้อไดรับ




               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ                            สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51