Page 227 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 227

ผ-4








               เสียกอน ประมาณ 10-15 วัน เพื่อเรงใหตาที่เหลือเจริญออกมาเร็วขึ้น สําหรับตนตอไดมาจาก
               การเพาะเมล็ดซึ่งควรปลูกอยูในแปลงชําหรือในสวนแลว มีอายุประมาณ 1 ป  หรือลําตนโต

               ขนาดแทงดินสอดําเปนอยางนอย ไมแกหรือใหญเกินไปจนลอกเปลือกไมออก กอนที่จะทําการติดตา

               ใหตัดกิ่งขางออกใหหมดเหลือไวแตกิ่งยอดตรง ๆ ริดใบที่โคนตนบริเวณที่จะทําการติดตาออก
               สวนฤดูที่เหมาะตอการติดตาออก สวนฤดูที่เหมาะตอการติดตาคือฤดูฝน วิธีการติดตามีขั้นตอน

               ดังนี้

                       1. กรีดตนตอใหถึงเนื้อไมยาวประมาณ 1.50 นิ้ว จํานวน 2 รอยหางกันประมาณ 1 เซนติเมตร
               โดยใหรอยกรีดสูงจากดินโคนตนประมาณ 3 นิ้ว แลว กรีดขวางดานบนระหวางรอยกรีดทั้งสอง

               แลวลอกเปลือกออกตามรอยที่กรีดไวตัดเปลือกตนตอที่ลอกออกนั้นใหเหลือไวทางดานลาง

               ประมาณ 1 ใน 3 เพื่อรองรับแผนตาที่จะนํามาติด
                       2. เฉือนกิ่งตาใหเปนรูปโลยาวประมาณ 1.50 นิ้ว ลอกเนื้อไมออกจากแผนตา แลวนําแผนตา

               สอดลงไปในแผลของตนตอที่เตรียมไว

                       3.  พันดวยผาพลาสติกใหแนน ทิ้งไวประมาณ 21-30 วัน หากแผนตายังเปนสีเขียวอยูแสดงวา

               การติดตาไดผลดี จึงใหทําการกระตุนตาโดยใชมีดบากเหนือรอยแผลประมาณ 1 นิ้ว และตองบาก
               ใหลึกเขาไปถึงเนื้อไม เมื่อตาที่ติดเจริญขึ้นมาเล็กนอยใหตัดยอดของตนตอออก โดยตัดใตรอยบาก

               แลวจึงนําไปดูแลรักษาในเรือนเพาะชําใหแข็งแรงจึงนําไปปลูก


               สภาพแวดลอมที่เหมาะสม



                       เงาะเปนไมผลที่เจริญเติบโตและใหผลผลิตไดดีในที่ซึ่งมีอากาศรอยแตตองมีความชื้น
               ในอากาศสูง มีฝนตกกระจายเกือบตลอดป สําหรับสภาพดินที่เหมาะสมในการปลูกเงาะคือ

               ดินรวนปนทราย หรือดินรวนปนดินเหนียวที่มีอินทรียวัตถุอยูมาก การระบายน้ําดี ความเปนกรด

               เปนดาง (pH) อยูระหวาง 5.5-7 ความลึกของหนาดินไมควรนอยกวา 1 เมตร ดินจะตองมีความชุมชื้น
               อยูเสมอแตไมถึงกับแฉะ หากปริมาณน้ําฝนไมเพียงพอ เชน ในชวงฤดูแลงก็ควรหาทางชวยเหลือ

               เพราะถาหากความชื้นมีไมพอแลวจะทําใหใบไหมเกรียบ เปนอุปสรรคตอการเจริญเติบโตของตน

               และผลของเงาะอยางมาก

                       จากสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของเงาะดังกลาว ภาคใตและภาคตะวันออก
               จัดเปนพื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกเงาะมากที่สุด เนื่องจากสภาพของดินที่มีความอุดมสมบูรณสูง

               และปริมาณฝนตกเฉลี่ยเกือบตลอดทั้งป








               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232