Page 57 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 57

3-6








                       3.2  การกําหนดคุณภาพที่ดิน

                                คุณภาพที่ดินที่นํามาประเมินสําหรับการปลูกพืชในระบบของ FAO Framework ไดกําหนดไว

                       ทั้งหมด 25 ชนิด ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความพรอมของขอมูล ความแตกตางของภูมิภาค และระดับความรุนแรง
                       ของคุณลักษณะดินที่มีผลตอผลผลิต ตลอดจนชนิดของพืช และความตองการการใชประโยชนที่ดิน

                       (Land Use Requirements)  ดังนั้นคุณภาพที่ดิน (Land Qualities) ที่นํามาใชมีดังนี้

                                - ระบบอุณหภูมิ  (Temperature regime : t) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก

                       คาอุณหภูมิเฉลี่ยในฤดูปลูกเพราะอุณหภูมิมีอิทธิพลตอการงอกของเมล็ด ตอการออกดอกของพืชบางชนิด
                       และมีสวนสัมพันธกับขบวนการสังเคราะหแสง ซึ่งจะสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตของพืช

                                - ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช (Moisture availability : m) คุณลักษณะที่ดินที่เปน

                       ตัวแทน ไดแก ระยะเวลาการทวมขังของน้ําในฤดูฝน ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยในรอบปหรือความตองการ

                       น้ําในชวงการเจริญเติบโตของพืช
                                - ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (Oxygen availability : o) คุณลักษณะ

                       ที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก สภาพการระบายน้ําของดิน ทั้งนี้เพราะพืชโดยทั่วๆ ไป รากพืชตองการ

                       ออกซิเจนในขบวนการหายใจ
                                - ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (Nutrient availability : s) คุณลักษณะที่ดินที่เปน

                       ตัวแทน ไดแก ปริมาณธาตุอาหารพืชในดิน

                                - ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (Nutrient retention capacity : n) คุณลักษณะที่ดินที่เปน

                       ตัวแทน ไดแก ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (Cation  exchange  capacity)  และความอิ่มตัว
                       ดวยดาง (Base saturation)

                                -  สภาวะการหยั่งลึกของราก (Rooting conditions : r) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน

                       ไดแก ความลึกของดิน ความลึกของระดับน้ําใตดิน และชั้นการหยั่งลึกของราก โดยความยากงาย

                       ตอการหยั่งลึกของรากในดินมีปจจัยที่เกี่ยวของ ไดแก ลักษณะเนื้อดิน โครงสรางของดิน การเกาะตัว
                       ของดิน และปริมาณกรวดหรือเศษหินที่พบในหนาตัดดิน

                                - สารพิษ (Soil toxicities : z) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก ระดับความลึกของชั้น

                       jarosite ซึ่งจะมีอิทธิพลตอปฏิกิริยาของดิน จะทําใหดินเปนกรดจัดมาก ปริมาณซัลเฟต ของเหล็ก
                       และอลูมินั่มในดินจะสูงมากจนเปนพิษตอพืช ในที่นี้จะพิจารณาจากความเปนกรดเปนดางของดิน

                       ซึ่งจะมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจากปฏิกิริยาดินจะทําใหสภาพตางๆ ทางดานเคมีและ

                       ทางดานชีวภาพของดินถูกเปลี่ยนไปในสภาพที่เหมาะสมหรือไมเหมาะสมตอพืชที่ปลูกหรือมีผลตอ
                       กิจกรรมของจุลินทรียในดิน โดยกิจกรรมของจุลินทรียในดินสามารถเปนตัวควบคุมระดับของธาตุ




                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62