Page 58 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 58

3-7








                       อาหารที่เปนประโยชนตอพืชได ดวยสาเหตุนี้จึงตองมีการปรับปรุงสภาพความเปนกรดเปนดาง
                       ของดินโดยขึ้นอยูกับชนิดพืชที่ปลูกดวย เพื่อใหความเปนกรดเปนดางของดินอยูในสภาพที่เหมาะสม

                                - สภาวะการเขตกรรม (Soil workability : k) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก ชั้นความ

                       ยากงายในการเขตกรรม ซึ่งอาจหมายถึง การไถพรวนโดยเครื่องจักรหรือสัตวหรือ
                       เครื่องมืออื่นๆ ที่ใชมือก็ได ชั้นระดับความยากงายในการไถพรวนใชมาตรฐานเดียวกันกับการ

                       จัดลําดับการหยั่งลึกของราก แตใชเฉพาะดินบนเทานั้น

                                - ศักยภาพการใชเครื่องจักร (Potential for mechanization : w) คุณลักษณะที่ดินที่เปน

                       ตัวแทน ไดแก ความลาดชันของพื้นที่ ปริมาณหินโผล ปริมาณกอนหิน และการมีเนื้อดินเหนียวจัด
                       ซึ่งปจจัยทั้ง 4 นี้อาจเปนอุปสรรคตอการไถพรวนโดยเครื่องจักร

                                - ความเสียหายจากการกัดกรอน (Erosion hazard : e) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน

                       ไดแก ความลาดชันของพื้นที่

                                -  ความสูงของพื้นที่ (Altitude : a)  คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก ความสูงของ
                       พื้นที่จากระดับน้ําทะเลปานกลาง ซึ่งมีผลตอการเจริญเติบโตและการออกดอกของพืช


                       3.3  คุณภาพของกลุมชุดดิน



                                กลุมชุดดินแตละกลุมจะมีลักษณะและสมบัติดินที่เฉพาะตามปจจัยการเกิดดินและการ
                       สรางดิน เชน สภาพภูมิอากาศ ชนิดวัตถุตนกําเนิดดิน สภาพพื้นที่ ระยะเวลาการพัฒนาของดิน พืช

                       พรรณธรรมชาติ สิ่งที่มีชีวิต และการใชประโยชนที่ดิน เปนตน ซึ่งลักษณะและสมบัติที่เปนขอเดน

                       ประจํากลุมชุดดินไดสรุปไวโดยอาศัยการเปรียบเทียบขอมูลเหลานี้กับลักษณะของดินที่พบ จะทํา

                       ใหสามารถจัดจําแนกดินในเบื้องตนไดวานาจะอยูในกลุมชุดดินใด และนําไปสูรายละเอียดอื่นๆ
                       ของดิน รวมทั้งปญหาการใชประโยชน และแนวทางการจัดการดินที่เหมาะสมในลําดับตอไป

                                กลุมชุดดินที่ 1

                                     เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา ในบริเวณเทือกเขา
                       หินปูนหรือหินภูเขาไฟ สภาพพื้นที่เปนที่ราบลุม มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนดินลึกที่มีการระบาย

                       น้ําเลวหรือคอนขางเลว เนื้อดินเปนพวกดินเหนียวจัด หนาดินแตกระแหงเปนรองลึกในฤดูแลง

                       และมีรอยไถลในดิน สีดินสวนมากเปนสีดํา หรือสีเทาแกตลอด มีจุดประสีน้ําตาล สีเหลือง และอาจพบ
                       จุดประสีแดงบาง ปะปนตลอดชั้นดิน สวนดินชั้นลางมักมีกอนปูนปะปน ปฏิกิริยาดินสวนใหญ

                       เปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.5-8.0  ดินมีความอุดมสมบูรณ

                       ตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง




                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63