Page 183 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 183

ภาคผนวกที่ 1

                                                   การสุมตัวอยาง (Sampling)



                                การสุมตัวอยางหมายถึงกระบวนการจัดกระทําใหไดมาซึ่งกลุมตัวอยาง(Sampling)

                       ที่เปนตัวแทนประชากร(Population)  การสุมตัวอยางที่มีลักษณะเปนตัวแทนของประชากรได

                       จะตองเลือกวิธีสุมตัวอยางที่เหมาะสมและกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางที่ใหญเพียงพอ
                                วิธีการสุมตัวอยางที่เหมาะสมเปนการสุมตัวอยางแบบไมลําเอียงโดยอาศัยหลักความ

                       นาจะเปน (Probability sampling) การกําหนดขนาดกลุมตัวอยางที่ใหญเพียงพอสามารถดําเนินการได

                       โดยใชสูตรคํานวณขนาดของกลุมตัวอยางที่เหมาะสมหรือใชตารางสําเร็จรูป


                       วิธีการสุมตัวอยางที่เหมาะสมกับงานกําหนดเขตปลูกพืชเศรษฐกิจ


                                วิธีการสุมตัวอยางประชากรแบบที่มีประชากรทอยูรวมกันเปนกลุมๆ (Cluster)  โดยแตละ

                       กลุมมีลักษณะในกลุมที่หลากหลายหรือมีความแตกตางในทํานองเดียวกันระหวางกลุมมีความ

                       คลายกัน เรียกวา วิธีการสุมตัวอยางแบบกลุม(Cluster sampling)  ถาการจัดกลุมของประชากรเปน
                       กลุมยอย โดยใชสภาพทางภูมิศาสตร (Geographic subdivision) เปนหลัก จะเรียกวา Area sampling

                                วิธีการสุมตัวอยางแบบแบงชั้น (Stratified  random  sampling)  เปนการสุมตัวอยาง

                       ประชากรแบบจัดประชากรเปนพวกหรือชั้น (Stratum) โดยยึดหลักใหพวกของประชากรมีลักษณะ

                       ภายในคลายกันหรือเปนเอกพันธ (Homogeneous)  มากที่สุดแตจะแตกตางกันระหวางชั้นมากที่สุด
                       จากนั้นจึงทําการสุมจากแตละชั้นมาทําการศึกษาโดยใชสัดสวนของกลุม ตัวอยางประชากร

                       ที่สุมขึ้นมาเทากันหรือไมเทากันก็ไดขึ้นอยูกับความเหมาะสม

                                วิธีสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) เปนการสุมตัวอยางประชากร

                       โดยแบงประชากรออกเปนลําดับชั้นตางๆ แบบลดหลั่น เชน ภาค จังหวัด อําเภอ ตําบล
                       หมูบาน เปนตน โดยทําการสุมประชากรจากหนวยลําดับชั้นที่ใหญกอน แลวทําการสุมหนวยที่มี

                       ลําดับรองลงไปทีละขั้นจนถึงกลุมตัวอยางที่ตองการ


                       ขนาดของกลุมตัวอยาง



                                การหาขนาดของกลุมตัวอยางเปนการกําหนดจํานวนตัวอยางที่จะตองเก็บมาวิเคราะห
                       เพื่อใหไดคาตัวแทนประชากรการกําหนดจํานวนตัวอยางที่เหมาะสม จะทําใหสามารถวางแผน

                       การดําเนินงานไดอยางเหมาะสมและประหยัดคาใชจาย โดยผลที่ไดจะมีความนาเชื่อถือและยอมรับ

                       ไดตามหลักสถิติ วิธีการหาขนาดของกลุมตัวอยางที่นิยมมี 2 วิธีดวยกันคือ
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188