Page 49 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 49

2-29








                       มังคุดแชแข็งนั้นประเทศผูนําเขาสําคัญคือ ประเทศญี่ปุน สหรัฐอเมริกาและไตหวัน ตามลําดับ โดยเฉพาะ

                       ประเทศญี่ปุนมีแนวโนมการนําเขามังคุดแชแข็งระหวางป 2543-2547 คิดเปนรอยละ 12.02 ตอป
                       มูลคาการสงออกของมังคุดแชแข็งเพิ่มขึ้นรอยละ 12.97 ตอป จาก 25.81  ลานบาท ในป 2543 เปน 22.83

                       ลานบาท ในป 2547 ซึ่งเปนสัดสวนที่เพิ่มขึ้นมากกวาการเพิ่มขึ้นของปริมาณ กลาวคือมีปริมาณ

                       สงออกมังคุดแชแข็ง 227 และ 243 ตันในป 2543 และ 2547 ตามลําดับ (ตารางที่ 2-7 และ ตารางที่ 2-8)
                       ดังนั้น อาจกลาววามูลคาตอหนวยของมังคุดแชแข็งนั้นสูงขึ้น ขณะที่มูลคารวมของการสงออก

                       มังคุดสดมีสัดสวนนอยกวาปริมาณหรืออาจกลาววามูลคาตอหนวยของมังคุดสดที่สงออกลดลง

                       แสดงวาราคาสินคาลดลงนั่นเอง

                                ผลไมเมืองรอนและผลิตภัณฑจากกลุมประเทศลาตินอเมริกา เปนคูแขงที่สําคัญของ

                       ผลไมเมืองไทยในตลาดสหรัฐอเมริกาและประชาคมยุโรป เนื่องจากมีตนทุนการผลิตต่ํากวา ทําเลที่ตั้ง
                       ใกลตลาด สะดวกและประหยัดคาขนสง รวมทั้งมีรสชาติและคุณภาพสอดคลองกับรสนิยมของ

                       ผูบริโภค ดังนั้น ทางรอดของประเทศไทยในการเพิ่มสวนแบงการตลาดผลไมเมืองรอนใน

                       ตลาดโลก จําเปนตองสรางความมั่นใจในสินคาผลไมจากประเทศไทย โดยใชคุณภาพและการ
                       ตอบสนองตอผูบริโภคไดรวดเร็ว ทันตอสถานการณและความตองการเปนกลยุทธในการเพิ่ม

                       ขีดความสามารถในการแขงขันกับประเทศคูแขงอื่น ๆ

                                 การสงออกมังคุดสดของประเทศไทยตลาดหลักคือประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่ง

                       ตลาดมีแนวโนมสดใสโดยปริมาณการสงออกเพิ่มขึ้นทุกป โดยปที่ผานมาเฉพาะตลาดจีนปริมาณสงออก

                       เกินกวารอยละ 40 ของมังคุดที่สงออกทั้งประเทศ เปนมังคุดจากทั้งภาคตะวันออกและภาคใต มีคูแขง
                       ที่สําคัญคือประเทศอินโดนีเซียซึ่งมีปริมาณผลผลิตมังคุดจํานวนมากและตนทุนที่ต่ํากวา โดยฤดู

                       มังคุดของประเทศอินโดนีเซียจะไปตรงกับชวงของภาคใตมากกวาภาคตะวันออก  ประเทศที่เปนคูแขงขัน

                       ของประเทศไทยสําหรับมังคุดผลสดในตลาดไตหวัน และฮองกง คือ อินโดนีเซีย และฟลิปปนส ซึ่ง
                       แมรูปลักษณภายนอกจะดอยกวามังคุดจากประเทศไทย แตขายในราคาถูกกวา เนื่องจากมีตนทุนใน

                       การผลิตและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวต่ํากวา รวมทั้งคุณภาพภายในมีความแตกตางกันนอยมาก

                       คือ ผูบริโภคมีโอกาสพบอาการเนื้อแกวและยางไหลภายในผลไดในปริมาณใกลเคียงกัน ผูบริโภค

                       จึงมักเลือกซื้อมังคุดจาก 2 ประเทศนี้แทนมังคุดจากประเทศไทย ทําใหปริมาณการนําเขามังคุดผลสด
                       จากอินโดนีเซียเขามาในไตหวันสูงกวายอดนําเขาจากประเทศไทยมาก ดังนั้นเกษตรกรไทยจึงตอง

                       พยายามเพิ่มปริมาณการผลิตมังคุดคุณภาพดีอยางสม่ําเสมอ และลดตนทุนการผลิต เพื่อรักษาตลาดมังคุด

                       ที่มีอยูในอนาคตประเทศไทยอาจมีประเทศเวียดนามเปนคูแขงอีกประเทศหนึ่ง เนื่องจากประเทศเวียดนาม
                       มีการนําเขากิ่งพันธุมังคุดจากประเทศไทยเปนจํานวนมาก และฤดูกาลของผลผลิตมังคุดจะใกลเคียง

                       กับมังคุดไทย




                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54