Page 233 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 233

ผ-9








                              การขยายพันธุโดยการเพาะเมล็ด

                              การขยายพันธุมังคุดที่ไดผลที่สุด คือ การใชเมล็ดมังคุดเพาะ ควรเลือกมาจากผลของมังคุด

                       ที่ยังสดอยู ในผลมังคุดจะมีเมล็ดที่โตที่สุดหนึ่งเมล็ด และมีเมล็ดที่มีขนาดรองลงมาอีก 1 หรือ 2 เมล็ด
                       สวนเมล็ดนอกเหนือจากนั้นเปนเมล็ดตายหรือเมล็ดเล็กทั้งหมด วิธีการเลือกเมล็ดมังคุดควรเลือก

                       จากผลมังคุดที่มีขนาดโตและขนาดเมล็ดควรมีน้ําหมักประมาณกวา 1 กรัมขึ้นไป เพราะเมล็ดใหญ

                       จะมีความแข็งแรงกวาเมล็ดอื่น ๆ หลังจากนั้นนําเมล็ดมาลางทําความสะอาดดวยน้ําเพื่อลางเสนใย
                       และเนื้อออกใหหมด สวนเมล็ดมังคุดที่มีขนาดโตอาจจะตัดออกเปนแวน ๆ กอน ซึ่งเมล็ดหนึ่ง

                       อาจตัดออกไดประมาณ 2-3 แวน และทุกๆแวนเมื่อนําไปเพาะอาจจะงอกไดแวนละ 1 ตน

                              เมล็ดมังคุดเมื่อนําออกจากผลแลวควรทําการเพาะอยางรวดเร็ว เพราะเมล็ดมังคุดมีชวงชีวิตสั้น

                       การเพาะเมล็ดมังคุดควรเพาะเมื่อยังสดอยูจะมีเปอรเซ็นตการงอกประมาณ 85 เปอรเซ็นต
                       ถาหากเพาะลาชาออกไป 3-5 วัน จะมีเปอรเซ็นตการงอกประมาณ 70 เปอรเซ็นต และถาหากลาชา

                       ไปอีก 15 วัน จะเหลือเปอรเซ็นต การงอกประมาณ 50 เปอรเซ็นต เมื่อปลอยไวนานจะยิ่งสูญเสีย

                       เปอรเซ็นตการงอกเพิ่มมากขึ้น

                              การเพาะเมล็ดควรเพาะในวัสดุชําที่มีอินทรียสูง มีสวนผสมของทราย, ซากพืชซากสัตวและ
                       หนาดิน ถาหากเพาะในแปลง ควรเตรียมแปลงโดยใสสวนผสมของทราย 2 สวน  ซากพืชซากสัตว

                       และหนาดิน 1 สวน วางเมล็ดในแปลงเพาะ เวนระยะประมาณ 2-3 เซนติเมตร ฝงเมล็ดลึก 1 เซนติเมตร

                       แปลงเพาะควรมีรมเงาและมีการใหน้ําอยางสม่ําเสมอประมาณ 20-30 วัน การงอกของรากจะมีการพัฒนา
                       จากสวนปลายของเมล็ด รากที่งอกออกมาแรกสุดจะตายและรากใหมจะพัฒนามาจากฐานของยอด

                       เมื่อตนกลามีใบออนประมาณ 2 ใบ จึงทําการยายลงชําในถุงพลาสติก การยายตนกลาควรใหมีดิน

                       ติดรากอยู และควรยายในระยะที่ตนกลามีใบ 2-3 ใบ ตนกลาที่แก นอกจากจะยายยากแลวจะปลูกได
                       ยากกวา เพราะรากไดมีการพัฒนามากขึ้น และระบบรากของมังคุดจะออนแอตอการกระทบกระเทือน

                       ระหวางการยายตนกลา การดูแลตนกลานอกจากจะมีการใสปุยรดน้ําอยางสม่ําเสมอแลว ตนกลา

                       จะตองมีการบังแสงหรืออยูในที่รม เพราะระบบรากของมังคุดจะมีรากขนออนอยูในปริมาณ ที่นอยมาก
                       และสามารถดูดซับน้ําและธาตุอาหารไดนอย สาเหตุที่ทําใหตนกลาออนแอ คือ แสงแดด ซึ่งจะทําให

                       ใบของตนกลาไหมและแคระแกร็นหรือเสียหายได สําหรับปุยควรจะใสใหบางจะเปนการชวยเรงให

                       ตนกลาโตเร็วขึ้น ในระยะชํานี้ควรใสปุยอินทรียหรือปุยหมักเทานั้น












                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                         สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   228   229   230   231   232   233   234